โบราณคดีของเครื่องถ้วยเวียงกาหลง Archaeology of Wiang Kalong Ceramics

Authors

  • สายันต์ ไพชาญจิตต์ วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Keywords:

โบราณคดีชุมชน, เวียงกาหลง, เตาล้านนา, เตาดินก่อ, เตาดินก้อน, เตาพ่วง, เครื่องถ้วยเขียนลายใต้เคลือบสีดำบนพื้นขาว, เครื่องถ้วยขาวเคลือบใสไม่มีสี, เครื่องถ้วยเซลาดอน, เครื่องถ้วยเคลือบสีนํ้าตาล

Abstract

การศึกษาด้วยวิธีการทางโบราณคดีชุมชนเมื่อไม่นานมานี้ พบหลักฐานยืนยันว่า
เครื่องถ้วยเวียงกาหลงสมัยโบราณมีการผลิตระหว่างพุทธศตวรรษที่ 21 - 24 ใช้เตาเผา
แบบเตาล้านนาชนิดเตาห้องเดี่ยวระบายความร้อนผ่านแนวนอน โครงสร้างเตาดินก่อ
ในระยะพุทธศตวรรษที่ 21 - 23 และต่อมาในช่วงพุทธศตวรรษที่ 23 - 24 ใช้เตาก่อด้วย
ดินก้อน มีผลิตภัณฑ์เครื่องถ้วยชนิดสำคัญ 4 กลุ่ม คือ เครื่องถ้วยเขียนลายใต้เคลือบสีดำ
บนพื้นขาว เครื่องถ้วยขาวเคลือบใสไม่มีสี เครื่องถ้วยเซลาดอน และเครื่องถ้วยเคลือบสีนํ้าตาล

Downloads

Published

2016-03-25

How to Cite

ไพชาญจิตต์ ส. (2016). โบราณคดีของเครื่องถ้วยเวียงกาหลง Archaeology of Wiang Kalong Ceramics. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (Journal of Humanities and Social Sciences, SRU), 8(1), 15–34. Retrieved from https://e-journal.sru.ac.th/index.php/jhsc/article/view/378