@article{ริคารมย์_2019, title={แนวทางการพัฒนาคุณภาพการให้บริการ หน่วยจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา Guideline for Service Quality Development of NRRU-Ethics in Nakhon Ratchasima Rajabhat University}, volume={11}, url={https://e-journal.sru.ac.th/index.php/jhsc/article/view/1021}, abstractNote={<p class="BasicParagraph" align="center"><strong>บทคัดย่อ</strong></p><p class="BasicParagraph" align="center"> </p><p class="BasicParagraph">            การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและสังเคราะห์การรับรู้คุณภาพการให้บริการ และกำหนดเป็นแนวทางการปฏิบัติงานของหน่วยจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา โดยกลุ่มเป้าหมายเลือกแบบเฉพาะเจาะจงคือผู้ที่ได้เคยรับบริการตั้งแต่เดือนมกราคม 2559 ถึงเดือนตุลาคม 2560 จำนวน 36 คน ใช้วิธีการวิเคราะห์เชิงเอกสารโดยพิจารณาประเด็นหลัก จากนั้นแบ่งเป็นประเด็นย่อยและหัวข้อย่อย และวิธีการวิเคราะห์เชิงพรรณนาทดสอบทางสถิติด้วยค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการประเมินการรับรู้คุณภาพการบริการ ผลการวิจัยพบว่า การรับรู้คือผลของประสบการณ์ที่ได้รับจากการให้บริการ และคุณภาพการบริการ คือการปฏิบัติงานบริการที่ตอบสนองความต้องการและความคาดหวังทำให้ผู้รับบริการเกิดความประทับใจ ชื่นชม และจงรักภักดี ส่งผลให้ผู้ใช้บริการรับรู้คุณภาพการให้บริการโดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับสูง ดังนั้น แนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริการ คือ 1) กระทำต่อมนุษย์ ด้วยรักษาความเชื่อถือได้ที่ดีไว้และพัฒนาขึ้นไปอย่างต่อเนื่อง 2) กระทำต่อวัตถุ ด้วยการดำเนินการอย่างมีมาตรฐาน ชัดเจน สามารถเข้าถึงได้อย่างรวดเร็ว 3) กระทำต่อจิตใจมนุษย์ ด้วยความมีตัวตนคือการสร้างองค์กรให้อยู่ในความทรงจำ เปิดรับและทำความเข้าใจนำไปสู่การตัดสินใจใช้บริการอย่างต่อเนื่อง และ 4) กระทำต่อข้อมูลข่าวสาร ด้วยความเอาใจใส่ บริการปฏิสัมพันธ์โดยใช้ช่องทางการสื่อสารหลากหลายและเทคโนโลยีที่ทันสมัย</p><p class="BasicParagraph"> </p><p class="BasicParagraph"><strong>คำสำคัญ</strong><strong>  : </strong>การรับรู้, แนวทางการพัฒนา, คุณภาพการบริการ, หน่วยจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์</p><p class="BasicParagraph" align="center"> </p><p class="BasicParagraph" align="center"><strong> </strong></p><br clear="ALL" /><p class="BasicParagraph" align="center"><strong>Abstract</strong></p><p class="BasicParagraph">           </p><p class="BasicParagraph">            This research objectives aim to study and synthesize in perception of service quality, and determine the process in leading to the improvement of service quality for NRRU-Ethics in Nakhon Ratchasima Rajabhat University. The 35 users of Human Research Ethics Services, Nakhon Ratchasima Rajabhat University, who were active in January 2016 to October 2017, were selected to be the target group by a purposive sampling. Data were analyzed by descriptive statistics, frequency, percentage and inferential statistics. There were standard deviation, and descriptive and descriptive information. The research results found that the recognition is the result of experience gained from serving, and service quality operational services to meet the needs and expectations of patients make an impression admiration and devotion. As a result, the user perceived quality of service and the overall high quality of service, so that: 1) committed against humanity treatment with great reliability and improved continuously, 2) acting on an object with the implementation of a clear standard can be quickly accessed, 3) acting on the human mind. With the creation of corporate identity is to remain in the memory exposure and understanding led to the decision to continue using the service, and 4) acting on the information with attention Service interaction using a variety of communication channels, and modern technology.</p><strong>Keyword :</strong>  recognition, guideline development, quality service, NRRU-Ethics in Nakhon Ratchasima Rajabhat University}, number={2}, journal={วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (Journal of Humanities and Social Sciences, SRU)}, author={ริคารมย์ นางรุจิรา}, year={2019}, month={Aug.}, pages={165–188} }