@article{พันธ์น้อย_2016, title={วสันตดิลกฉันท์ : นาฏการและการเปลี่ยนแปลง (Vasantatilakachan: Dramatization and Changes)}, volume={8}, url={https://e-journal.sru.ac.th/index.php/jhsc/article/view/527}, abstractNote={<p>วสันตดิลกฉันท์ เป็นหนึ่งในฉันท์ 108 ชนิด เนื่องจากลักษณะบังคับของ<br />ฉันทลักษณ์ทำให้ฉันท์ชนิดนี้มีตำแหน่งการวางเสียงหนักเบาที่ลงตัว อ่านแล้วให้จังหวะ<br />เรื่อย ๆ ไพเราะรื่นหู จึงมีผู้นิยมแต่งฉันท์ชนิดนี้มาก จากการศึกษาการใช้วสันตดิลกฉันท์ใน<br />การแสดงนาฏการด้านต่าง ๆ ได้ข้อสรุปว่า วสันตดิลกฉันท์ใช้แต่งเพื่อแสดงนาฏการด้าน<br />ความงาม นาฏการด้านความรัก นาฏการด้านของสูง และนาฏการด้านการบรรยาย<br />เหตุการณ์ต่าง ๆ จากการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของวสันตดิลกฉันท์ได้ข้อสรุปว่า ตั้งแต่<br />อดีตถึงปัจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลง 2 ลักษณะ คือ การเปลี่ยนแปลงด้านฉันทลักษณ์<br />และการเปลี่ยนแปลงด้านเนื้อหา การเปลี่ยนแปลงด้านฉันทลักษณ์ของวสันตดิลกฉันท์<br />ที่ปรากฏในวรรณกรรมยุคแรก ๆ ไม่เคร่งครัดด้านฉันทลักษณ์ เนื่องจากไทยได้แบบการ<br />แต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์จากอินเดีย ต้นแบบมาจากฉันท์ภาษามคธที่ปรากฏในคัมภีร์<br />วุตโตทัย “วสันตดิลกคาถา” อันมีลักษณะบังคับตำแหน่งครุ ลหุ และจำนวนคำที่ชัดเจน<br />แต่เมื่อไทยรับมาใช้ได้ดัดแปลงให้มีเสียงสัมผัสคล้องจอง ทำให้การแต่งวสันตดิลกฉันท์<br />ไม่ตรงตามลักษณะของฉันทลักษณ์เดิม ต่อมาในสมัยรัตนโกสินทร์จนถึงปัจจุบันมุ่งการ<br />แต่งที่เคร่งครัดให้ตรงตามฉันทลักษณ์ จึงทำให้มีผู้แต่งวสันตดิลกฉันท์จำนวนน้อย<br />ส่วนการเปลี่ยนแปลงด้านเนื้อหาในยุคแรก ๆ มีเนื้อหาเกี่ยวกับการแสดงอารมณ์ความรู้สึก<br />เป็นเรื่องเพ้อฝันจินตนาการ แต่ภายหลังจากได้รับอิทธิพลทางตะวันตกทำให้การแต่งมี<br />เนื้อหาเน้นการเสนอความรู้ ข้อคิด และสะท้อนภาพสังคม</p><p>Vasantatilakachan was among the 108 types. Since the forcing<br />characteristics of this kind of verse were to adequately position the hard and<br />soft voices that gave the wonderful reading feeling. Therefore, so many people<br />love to write on this kind of verse. From the study, Vasantatilakachan was<br />applied in any of dramatization performance; the summary was that<br />Vasantatilakachan was selected to be written for the dramatization related to<br />beauty performance, love, luxury things, and descriptions of any events. From<br />the study on changes in Vasantatilakachan, it can be concluded that the<br />studies of Vasantatilakachan from the past until present had two forms of<br />changes. First, changes in verse characteristics and changes in its content ;<br />that is changes in the form of verse in Vasantatilakachan. Vasantatilakachan<br />as seen from the very first era of literature seemed not strict on the verse<br />characteristic since Thais took the form of poetry from India where it was<br />originated from Magadha language verse in which presented in the Vuttodaja<br />scripture. “Vasantatilaka magic” was the Sakkarichan or verse with the forcing<br />characteristics to position the hard and soft tone and the definite words.<br />Crucially, when Thai received this to use, we adjusted qcannot be direct with<br />Chan. It was quite difficult since the writer must have knowledge and real<br />researching before writing the poetry. Next in Rattanakosin era till recent; there<br />was the strict measure for writing according to the types of verse, therefore,<br />there was less Vasantatilakachan. Vasantatilakachan in the very first period,<br />the content focuses on the emotion and feeling, fantasy and imagination.<br />After receiving the western influence, the contextual writing was concentrated<br />on knowledge idea and social reflection presentation.</p>}, number={3}, journal={วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (Journal of Humanities and Social Sciences, SRU)}, author={พันธ์น้อย วิชุนี}, year={2016}, month={Dec.}, pages={49–76} }