@article{รัตนชัย_2016, title={การตีความกฎหมายอาญา : คดีดูหมิ่นผู้อื่นซึ่งหน้า โดยการใช้โทรศัพท์ (Interpretation of Criminal Law: Abuse Case by Using Telephone)}, volume={8}, url={https://e-journal.sru.ac.th/index.php/jhsc/article/view/530}, abstractNote={<p>บทความนี้ผู้เขียนได้นำคำพิพากษาศาลฎีกาที่ตัดสินเกี่ยวกับคดีดูหมิ่นผู้อื่น<br />ซึ่งหน้าโดยการใช้โทรศัพท์ ซึ่งตัดสินในปี พ.ศ. 2556 กับที่ตัดสินในปี พ.ศ. 2557 ในกรณี<br />เดียวกัน โดยที่ ในปี พ.ศ. 2556 ตัดสินให้มีความผิด ส่วนในปี พ.ศ. 2557 ตัดสินให้ยกฟ้อง<br />มาศึกษาวิเคราะห์ ตีความ และเปรียบเทียบ เพื่อนำผลที่ได้มาใช้เป็นแนวทางในการ<br />พิจารณาคดีลักษณะนี้ต่อไปในอนาคต และเพื่อเป็นการป้องปรามผู้ใช้โทรศัพท์มิให้ใช้<br />เป็นสื่อในทางก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น จากการศึกษาดังกล่าว ผู้เขียนเห็นว่า<br />คำตัดสินของศาลฎีกาในปี พ.ศ. 2556 ที่ตัดสินให้มีความผิด น่าจะใช้เป็นแนวทางและ<br />ป้องปรามได้ เพราะคำตัดสินเช่นนี้เป็นการชี้ให้เห็นความผิด และเป็นความผิดที่ต้องได้รับ<br />ผลตอบแทนอันจะทำให้ผู้ใช้โทรศัพท์เกิดความระมัดระวังในการสื่อสารกับบุคคลอื่นต่อไป</p><p>This article is written to introduce the Supreme Court judgments<br />concerning insulting the other person in his presence via telephone. The<br />judgments were released in 2556 B.E. and 2557 B.E., while the judgment in<br />2556 B.E. considered as an offense, the judgment in 2557 B.E. dismissed. The<br />writer analyzed, interpreted and compared these judgments to show the pattern<br />for consideration this kind of case in the future. It will also suppress telephone<br />users from misconducts. From the research, the writer believed that the<br />judgment in 2556 B.E. which pronounced as guilty will be a guideline and a<br />suppression because it pointed out faults and punishment that will cause the<br />awareness of telephone users in communicating with others.</p>}, number={3}, journal={วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (Journal of Humanities and Social Sciences, SRU)}, author={รัตนชัย ภูภณัช}, year={2016}, month={Dec.}, pages={125–154} }