TQF กับการเป็นอาจารย์มืออาชีพ (TQF for Professionals)

Authors

  • จิรณี ตันติรัตนวงศ อดีตรองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา และอดีตผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษด้านมาตรฐานการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร

Keywords:

TQF, Professional Teache

Abstract

มาตรฐานคุ ณวุ ฒิ ระดั บอุ ดมศึ กษาแห่งชาติ (มคอ.) หรื อ Thai Qualifications
Framework for Higher Education (TQF : Hed) หรือเรียกย่อๆ ว่า TQF เป็นแนวทาง
การปฏิ บั ติ ตามกรอบมาตรฐานคุ ณวุ ฒิ ระดั บอุ ดมศึ กษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 มี ขั้ นตอน
การปฏิ บั ติ ตามแบบ มคอ. 1 - 7 ดั งนี้ แบบ มคอ. 1 มาตรฐานคุ ณวุ ฒิ ระดั บสาขา/สาขา
วิชา เป็นแบบกำหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิตในแต่ละระดับการศึกษา คุณลักษณะ
ของบัณฑิต องค์ความรู้ที่เป็นเนื้อหาที่จำเป็นต้องมีในหลักสูตร แบบ มคอ. 2 รายละเอียด
ของหลั กสู ตร เป็ นแบบฟอร์ มอธิ บายภาพรวมของการจั ดหลั กสู ตร การจั ดการเรี ยน
การสอนที่จะทำให้ บั ณฑิ ตบรรลุ ผลการเรี ยนรู้ ของหลั กสู ตร นำผลการเรี ยนรู้ อย่างน้ อย
5 ด้านไปสู่การปฏิบัติแบบ มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา เป็นการแสดงข้อมูลเกี่ยวกับ
แนวทางการบริ หารจั ดการของแต่ละรายวิ ชา เพื่อให้ การจั ดการเรี ยนการสอนสอดคล้ อง
และเป็ นไปตามที่วางแผนแบบ มคอ.4 รายละเอี ยดของประสบการณ์ ภาคสนาม เป็ น
การแสดงข้ อมู ลเกี่ยวกั บแนวทางการบริ หารจั ดการในรายวิ ชา หรื อกิ จกรรมที่นั กศึ กษาจะ
ออกฝึ กงาน ออกฝึ กภาคสนาม หรื อสหกิ จศึ กษา แบบ มคอ. 5 รายงานผลการดำเนิ น
การของรายวิ ชา เป็ นรายงานผลการจั ดการเรี ยนการสอนของอาจารย์ ผู้ สอน เมื่อสิ้ นภาค
การศึ กษา แบบ มคอ. 6 รายงานผลการดำเนิ นการของประสบการณ์ ภาคสนาม เป็ น
การรายงานผลการฝึกงาน การออกฝึกงาน การฝึกงานภาคสนาม หรือสหกิจศึกษา มคอ. 7
รายงานผลการดำเนิ นการหลั กสู ตร เป็ นรายงานผลประจำปี ประกอบด้ วยข้ อมู ลทางสถิ ติ
นั กศึ กษาที่เรี ยนในหลั กสู ตร สภาพแวดล้ อมภายในและภายนอกสถาบั น สรุ ปภาพรวม
รายงานของรายวิชาในหลักสูตร ประสิทธิภาพของการสอน

 

Thai Qualifications Framework for Higher Education (TQF : Hed) or
TQF is a document setting out the structure consistent with the national
standard framework qualification for higher education in 2009, it is procedure
with Form TQF1-7 as follows : Form TQF 1 Level Qualification Framework
in discipline/field is the designed standard of learning outcome of the
graduate in each level, characteristics, body of knowledge needed in the
program; Form TQF 2 Program Description is the descriptive form of overall
program management, the instruction which is enable the graduate to
achieve the program learning, taking at least five domains of learning to
action; Form TQF 3 Course Syllabus proposes information involved the
priority of course management in order to organize it in consistent with the
plan; Form TQF 4 Experience Description features an information involved
the priority of course management or activity which student is about to
apprentice, field experience or multi-disciplinary study; Form TQF 5 Report
of Course Implementation Result is a report of achievement of the lecturer’
s instruction in the end of term; Form TQF 6 Report of Field Experience
Implementation Result is a report of apprentice result, field experience or
multi-disciplinary study; and Form TQF 7 Report of Program Implementation
Result is contained with the information of enrollment in the program,
internal and external circumstance of the institution, outline of course
report in the program with its’ efficiency.
r

Downloads

Published

2015-05-08