@article{คชเวช_2019, title={การบริหารการเงินการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดระยอง1 Fiscal Management of Local Administrative Organization Centers in Rayong Province}, volume={11}, url={https://e-journal.sru.ac.th/index.php/jhsc/article/view/1020}, abstractNote={<p align="center"><strong>บทคัดย่อ</strong></p><p>            การวิจัยการบริหารการเงินการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดระยอง มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการจัดการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดระยอง 2. เพื่อศึกษาการวางแผนงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดระยอง 3. เพื่อศึกษาการกำหนดนโยบายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดระยอง เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 63 คน ผลการวิจัย ประเด็นการจัดการงบประมาณ พบว่า ด้านการจัดหารายได้ ส่วนใหญ่รายได้ได้มาจากการจัดเก็บภาษีเอง ด้านการกำหนดรายจ่าย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องนำโครงการ และครุภัณฑ์ต่าง ๆ ที่บรรจุอยู่ในแผนพัฒนาท้องถิ่นไปจัดทำเป็นข้อบัญญัติหรือเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี ประเด็นการวางแผนงบประมาณ พบว่า ด้านการจัดเก็บภาษี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดเก็บภาษีหลัก ๆ ได้แก่ (1) ภาษีบำรุง</p><p> </p><br clear="ALL" /><p><sup>1</sup>บทความมาจากงานวิจัยการบริหารการเงินการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดระยอง</p><p><sup>2</sup>นิสิตหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา</p><p><sup>3</sup>รองศาสตราจารย์ ดร. อาจารย์ประจำ วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา</p><p><sup>4</sup>ดร. อาจารย์ประจำ วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา</p><p> </p><p>ท้องที่ (2) ภาษีโรงเรือนและที่ดิน และ (3) ภาษีป้าย ด้านหนี้สาธารณะ องค์การบริหารส่วนจังหวัด และเทศบาลเท่านั้นที่จะสามารถก่อหนี้สาธารณะได้ สำหรับองค์การบริหารส่วนตำบลไม่สามารถดำเนินการได้ ด้านเงินคงคลัง มีกฎหมายกำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องมีเงินคงคลังที่เรียกว่า เงินสะสมและเงินทุนสำรองสะสม ประเด็นการกำหนดนโยบาย พบว่า ด้านนโยบายงบประมาณ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดระยองมีการจัดทำงบประมาณแบบสมดุล ด้านนโยบายกระจายอำนาจการเงินการคลัง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับการกระจายอำนาจและหน้าที่จากส่วนกลางเพียงส่วนหนึ่งเท่านั้น</p><p><strong> </strong></p><p><strong>คำสำคัญ </strong><strong>:</strong> การบริหาร การเงินการคลัง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดระยอง</p><p><strong> </strong></p><p align="center"><strong>Abstract</strong></p><p>The objectives of this research on fiscal managements of Local Administrative Organization Centers in Rayong province are (1) to study budget managements, (2) to examine budget planning and (3) to investigate policies regulation of Local Administrative Organization Centers in Rayong province. This qualitative research is conducted by interviewing 63 considerable informants.The research result of budget management topic suggests that, concerning revenue provision, most revenue comes from taxation itself. Regarding expenditure regulation, Local Administrative Organization Centers must contribute projects and durable articles, which are presented on local development plans, to local legislation or municipal law of annual expenditure budget.  Considering budget policy regulation, there are three main taxes from Local Administrative Organization Centers: (1) Maintenance Tax, (2) Property Tax and (3) Signboard Tax. Concerning public debt, only Provincial Organization and Municipality are allowed to incur public debts. With regard to Sub-district Administrative Organization, there is no regulation and law to be proceeded.  According to Local Administrative Organization Law, treasury reserves called saving deposit and accumulated reserved fund are required to be conducted for policy formulation by Local Administrative Organization Centers.  Considering budget policy, Local Administrative Organization Centers allocate balanced budget.  For policy of fiscal decentralization, Local Administrative Organization Centers are decentralized and given only some slight parts from the Central Administration.</p><p><strong>Keyword</strong>: Management, Fiscal, Local Administrative Organization Center, Rayong Province</p>}, number={2}, journal={วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (Journal of Humanities and Social Sciences, SRU)}, author={คชเวช นางสาวพิมพิศ}, year={2019}, month={Aug.}, pages={221–243} }