@article{แย้มใหม่_2021, title={หน้าพรานจิ๋วและเทริดจิ๋ว: การพัฒนาทุนทางวัฒนธรรมสู่ทุนทางเศรษฐกิจ Tiny hunter’s face and tiny headdress: cultural capital development to economic capital}, volume={13}, url={https://e-journal.sru.ac.th/index.php/jhsc/article/view/1142}, abstractNote={<p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p><strong>          </strong>การศึกษาเรื่อง หน้าพรานจิ๋วและเทริดจิ๋ว: การพัฒนาทุนทางวัฒนธรรมสู่ทุนทางเศรษฐกิจ เป็นการศึกษาตามระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อศึกษาการพัฒนาทุนทางวัฒนธรรมสู่ทุนทางเศรษฐกิจของหน้าพรานจิ๋วและเทริดจิ๋ว เก็บข้อมูลจากเอกสาร ตำรา และภาคสนามด้วยการสังเกตไม่เป็นทางการและการสัมภาษณ์ไม่เป็นทางการ พื้นที่ในการศึกษาคือจังหวัดตรัง</p> <p>          ผลการศึกษาพบว่า คนในภาคใต้เชื่อกันว่าเทริดและหน้าพรานนั้นเป็นตัวแทนของครูหมอโนรา ซึ่งเป็นวิญญาณที่ศักดิ์สิทธิ์ จึงมีผู้ริเริ่มคิดค้นนำเทริดและหน้าพรานมาประดิษฐ์เป็นเครื่องรางของขลัง สามารถพกพาได้สะดวก ครอบครัวของช่างเทือง ชาวจังหวัดตรัง เป็นครอบครัวที่ประดิษฐ์เทริดและหน้าพรานขาย แต่มาเมื่อ พ.ศ. 2559 ได้ริเริ่มพัฒนางานด้วยการทดลองทำหน้าพรานจิ๋วและเทริดจิ๋ว แนวคิดในการทำงานในครั้งนี้คือ ความประสงค์จะเพิ่มความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ โดยไม่ทำลายฐานทางวัฒนธรรมแบบดั้งเดิม ปัจจุบันผลิตภัณฑ์นี้เป็นที่ต้องการของตลาดจำนวนมาก การศึกษาในครั้งนี้จึงได้เสนอแนวทางในการพัฒนางานต่อไปในอนาคตคือการประดิษฐ์ตุ๊กตาโนราและตุ๊กตานายพราน และการว่าจ้างแรงงานมาช่วยในการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์ตามความเหมาะสม หากวิเคราะห์วิธีคิดในการทำงานของช่างเทืองและครอบครัวแล้วนับว่าตั้งอยู่บนแนวคิด “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”</p> <p><strong>คำสำคัญ</strong><strong>: </strong>หน้าพรานจิ๋ว, เทริดจิ๋ว, การพัฒนา, ทุนทางวัฒนธรรม, ทุนทางเศรษฐกิจ</p> <p><strong> </strong></p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>The education of tiny hunter’s face and tiny headdress: cultural capital development to economic capital is a study based on qualitative research methods. The objective is to study the development of cultural capital into the economic capital of the tiny hunter’s face and tiny headdress. Collect data from texts and field documents with informal observations and informal interviews. The area of ​​study is Trang.</p> <p>          The study indicated that people in the South believe that the headdress and the hunter’s face are the representatives of Krumor Nora, which is a holy spirit. Therefore initiated the invention of the headdress and hunter’s face to create a talisman, can be easily carried. Mr.Teung and family who are Trang people Is a family that invented the headdress and sold the hunter’s face. But when 2016, initiated the development of the experiment with the making of tiny headdresses and tiny hunters. The concept of this work is wishes to increase the variety of products without destroying the traditional cultural base. At present, this product is a lot of market demand. This study therefore proposed the future development of the work, namely the creation of Nora dolls and Huntsman dolls. And hiring workers to help create the product as appropriate. If analyzing the way of thinking in the work of Mr Teung and family, then it is based on the concept. "Sufficiency Economy Philosophy".</p> <p><strong>Keywords: </strong>Tiny hunter’s face, tiny headdress, development, cultural capital, economic capital</p>}, number={1}, journal={วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (Journal of Humanities and Social Sciences, SRU)}, author={แย้มใหม่ สันติชัย}, year={2021}, month={Feb.}, pages={84–111} }