ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 ของแรงงานไทยในภาคอุตสาหกรรมอาหารทะเล แปรรูป: กรณีศึกษาจังหวัดสุราษฎร์ธาน

Authors

  • วรัชญา เผือกเดช นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
  • พูลฉัตร วิชัยดิษฐ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธาน
  • สนชัย ใจเย็น คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธาน

Keywords:

Cognition, Labor Relations Act B.E. 2518 (1975), Thai labors, seafood processing industry sector, Surat Thani Province

Abstract

การศึ กษาในครั้ งนี้ มี วั ตถุ ประสงค์ ที่สำคั ญ 3 ประการคื อ (1) เพื่อศึ กษาความรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกับพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 (2) เพื่อเปรียบเทียบความรู้
ความเข้ าใจเกี่ยวกั บพระราชบั ญญั ติ แรงงานสั มพั นธ์ โดยจำแนกตามสถานภาพส่วนบุ คคล
และ (3) เพื่อหาแนวทางการพั ฒนาความรู้ ความเข้ าใจเกี่ยวกั บพระราชบั ญญั ติ แรงงาน
สั มพั นธ์ ของแรงงานไทยในภาคอุ ตสาหกรรมอาหารทะเลแปรรู ปของจั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้จัดการหัวหน้า พนักงาน และแรงงานไทย ที่ปฏิบัติงานในภาคอุตสาหกรรม
อาหารทะเลแปรรูปจำนวน 33 โรงงาน และมีจำนวน 360 คน โดยการเลือกตัวอย่างแบบ
เจาะจง (Purposive Sampling) และสัมภาษณ์เชิงลึกกับหัวหน้าหรือตัวแทนแรงงานไทย
จำนวน 22 คน และข้าราชการจำนวน 3 คน มีการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา
(Descriptive Statistic) สถิติเชิงอนุมาน (Inductive Statistics) และวิเคราะห์เชิงเนื้อหา

(Content Analysis) ผลการวิ จั ยพบว่า ระดั บความรู้ ความเข้ าใจเกี่ยวกั บพระราชบั ญญั ติ
แรงงานสั มพั นธ์ อยู่ในระดั บปานกลางทั้ ง 5 ด้ าน ประกอบด้ วย ด้ านอั ตราค่าจ้ างและ
รายได้ ด้ านสวั สดิ การ ด้ านการคุ้ มครองแรงงาน ด้ านประกั นสั งคม ด้ านความปลอดภั ย
อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน แต่เมื่อพิจารณาจำแนกตามสถานภาพส่วน
บุ คคล พบว่า เพศ อายุ ที่ตั้ งของสถานประกอบการมี ผลต่อความรู้ ความเข้ าใจเกี่ยวกั บ
พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 แตกต่างกันในภาพรวม ดังนั้นสถานประกอบ
การควรมี เจ้ าหน้ าที่ชี้ แจงความรู้ เกี่ยวกั บรายละเอี ยดของเงิ นเดื อน ค่าจ้ าง และเงิ นโบนั ส
เบี้ยขยันแก่ลูกจ้าง - พนักงาน โดยมุ่งเน้นถึงรายละเอียดเกี่ยวกับค่าจ้างขั้นต่ำตามประกาศของ
กรมแรงงานเป็ นหลั กและวุ ฒิ การศึ กษา ซึ่งฝ่ายบุ คคลต้ องคอยให้ ความรู้ ชี้ แนะ และ
ประสานงานให้ พนั กงานและแรงงานทราบข่าวสารเกี่ยวกั บสวั สดิ การตลอดเวลา พร้ อมทั้ ง
คอยให้ ความรู้ และอธิ บายอย่างละเอี ยดเกี่ยวกั บการคุ้ มครองแรงงานตามกฎหมายของ
กรมแรงงาน โดยการจั ดประชุ มหรื ออบรมระหว่างนายจ้ างและลู กจ้ าง นอกจากนี้ สถาน
ประกอบการจะต้ องเป็ นผู้ ให้ ความรู้ กั บแรงงานอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะเรื่องการได้ รั บ
สิ ทธิ ต่างๆ จากประกั นสั งคมให้ กั บแรงงานไทยในสถานประกอบการและปฏิ บั ติ ตามอย่าง
เคร่งครั ด ซึ่งจะต้ องให้ หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้ องกั บความปลอดภั ย อาชี วอนามั ยและ
สภาพแวดล้อมในการทำงานมาตรวจประเมินสถานประกอบการ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

This study aims to (1) study about Labor Relations Act B.E. 2518
(1975). (2) compare the cognition about the Labor Relations Act B.E. 2518
of labor classified by personal status and (3) develop a better cognition
about the Labor Relations Act B.E. 2518 (1975) of Thai labors in seafood
processing industry sector : A Case Study of Surat Thani province. The
sample groups were 360 persons who work at seafood processing industry
sector in position managers, chiefs, employees and Thai labors in 6 districts of

Surat Thani province consist of Muang, Phunphin, Tha Chang, Chaiya,
Donsak and Ban Na Doem. The non - probability sampling or the purposive
sampling was used for in - depth interviews 22 thai heads or representatives
of labor seafood processing industry sector in Surat Thani province and 3
officials associated with the agency to protect workers of Surat Thani.
Based on the research outcome, it revealed that the level of cognition
about the Labor in overall were at the middle level in all 5 aspects consist
of wage rate and revenues, welfare, labor protection, social insurance,
safety, occupational health and environment of work. But when considering
by personal status found that gender, age and location of the establishment
were differently cognition about the Labor Relations Act B.E. 2518. Therefore,
the enterprise should arrange staffs for explaining employees about salary,
bonus which consider by the minimum wage and educational background.
The human resource must suggest them to know and perceive about
social welfare and the right of labor legislation by meeting or training.
Furthermore, the enterprise must let Thai labor realize about the right of
social welfare and inform the government sector such as Department of
health to estimate the safety of workplace at least once a year

Published

2015-05-08