การพัฒนาคู่มือการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจแบบพอเพียงของโรงเรียน ในกลุ่มสุราษฎร์ธานี 2 สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 จังหวัดสุราษฎร์ธานี Development of Learning Management Manual Based on Sufffiiciency Economy Philosophy o

Authors

  • นิวัฒน์ รักษ์รอด นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธาน
  • นิตยา กันตะวงษ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธาน
  • พรศักดิ์ อาษาสุจริต คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธาน

Keywords:

Learning Manual, Philosophy of Sufficiency Economy, Learning Management Based on Sufficiency Economy Philosophy

Abstract

วิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหา พัฒนา และประเมินความเหมาะสม
ของคู่มื อการจั ดการเรี ยนรู้ ตามหลั กปรั ชญาเศรษฐกิ จแบบพอเพี ยงของโรงเรี ยนในกลุ่ม
สุราษฎร์ธานี 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ดำเนินการวิจัย 3 ขั้นตอน ได้แก่ ศึกษาสภาพปัญหาจากผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 16 คน
และครู ผู้ สอน จำนวน 197 คน โดยใช้ แบบสอบถามที่มี ค่าความเชื่อมั่นเท่ากั บ 0.97
การพั ฒนาคู่มื อซึ่งประกอบด้ วยผู้ เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน และประเมิ นความเหมาะสม
จากผู ้บริหารจำนวน 10 คน และครูผู ้สอน จำนวน 30 คน โดยใช้แบบประเมินความเหมาะสม
สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจแบบ
พอเพี ยง โดยรวมอยู่ในระดั บปานกลาง เรี ยงตามลำดั บ คื อ ด้ านการจั ดกิ จกรรมพั ฒนา

นักเรียน รองลงมาคือ ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ด้านการบริการวิชาการ
และด้ านการวิ จั ยเศรษฐกิ จพอเพี ยง ผลการพั ฒนาคู่มื อประกอบด้ วยการจั ดทำเนื้ อหา
สาระตามโครงร่างมี 6 หน่วย ประกอบด้วย หน่วยที่ 1 การจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
เศรษฐกิจแบบพอเพียง หน่วยที่ 2 ความเป็นมาและความหมาย หน่วยที่ 3 หลัก เงื่อนไข
และนั ยสำคั ญของเศรษฐกิ จพอเพี ยง หน่วยที่ 4 ปรั ชญาของเศรษฐกิ จพอเพี ยง: แนวคิ ด
ใหม่ในการพั ฒนาเศรษฐกิ จ หน่วยที่ 5 วิ เคราะห์ หลั กปรั ชญาของเศรษฐกิ จพอเพี ยงมาใช้
ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยที่ 6 การน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ
โดยให้ ผู้ เชี่ยวชาญตรวจสอบความถู กต้ องของเนื้ อหาความเหมาะสมของคู่มื อการจั ด
การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจแบบพอเพียง โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เรียงตาม
ลำดั บคื อ ด้ านการนำไปใช้ มี ค่าเฉลี่ยสู งที่สุ ด รองลงมาคื อ ด้ านเนื้ อหาและด้ านรู ปเล่มมี ค่า
เฉลี่ยต่ำที่สุด

This research aims to study problems, develop, and assess the
learning manual based on philosophy of sufficiency economy of schools in
Surat Thani Group 2 under the Secondary Educational Service Area 11 in
Surat Thani Province. Research was conducted in 3 stages which were
1) study problems from 16 school administrators and 197 teachers using
questionnaire with the reliability at 0.97; 2) develop the manual under the
supervision of 5 experts; and 3) assess the manual by 10 teachers and 30
students using an evaluation form. Statistics used in this study were mean
and standard deviation.
The research results were as follows: 1) problem-based learning
conditions based philosophy of sufficiency economy on were overall at the
moderate level. These included (1) student development activity; (2) curriculum
and learning management; and (3) research in sufficiency economy.

2) Development of the learning manual was at the very high level in which
the application obtained the highest mean, followed by the content and the
form of books. This manual consisted of 6 units namely Unit 1 : Learning
the sufficiency economy philosophy, Unit 2 : the history and meaning, Unit
3 : Principles and the significance of sufficiency economy, Unit 4 : Philosophy
of sufficiency economy : A new concept in economic development, Unit 5 :
The philosophy of sufficiency economy in the learning activities, and Unit
6 : Apply the philosophy into practice. The manual was assessed its accuracy
and appropriateness of the content by the experts.

Downloads

Published

2015-05-08