การอนุรักษ์คลองท่าทองใหม่โดยชุมชนมีส่วนร่วม

Authors

  • อัมพวรรณ หนูพระอินทร์

Abstract

น้ำเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญยิ่งต่อการดำรงชีวิตและการพัฒนาเศรษฐกิจ น้ำตามสภาพธรรมชาติที่ประชาชนทุกท้องที่อาศัยใช้ ได้แก่ น้ำในบรรยากาศ (ฝน) น้ำผิวดิน และน้ำบาดาล น้ำดังกล่าวเป็นผลิตผลจากธรรมชาติที่เราไม่สามารถผลิตเพิ่มขึ้นมา หรือลดปริมาณที่มีอยู่ในธรรมชาติได้เองตามต้องการบางปีอาจเกิดฝนแล้งเป็นเหตุให้น้ำในแม่น้ำลำธารมีน้อย จนไม่สามารถแบ่งปันได้ทั่วถึง หรือบางปีฝนตกชุกต่อเนื่องจนเกิดความเสียหายเนื่องจากน้ำท่วมทรัพย์สินและพื้นที่ชุมชน นอกจากนี้ยังมีน้ำเสียหรือมลพิษทางน้ำเกิดขึ้นในหลายท้องที่ตามมาอีกด้วย นับเป็นวิกฤตการณ์เกี่ยวกับน้ำซึ่งปัจจุบันนี้เกิดขึ้นอยู่ในท้องถิ่นต่าง ๆ ทุกภาคของประเทศไทยในสภาพค่อนข้างใกล้เคียงกันแทบทุกปี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงห่วงใยและทรงให้ความสำคัญอย่างยิ่งยวดในการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับน้ำอันเป็นปัจจัยพื้นฐานสำคัญของการดำรงชีวิตและการประกอบอาชีพของเกษตรกรซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ของแผ่นดินมาตั้งแต่ต้นรัชกาลจนถึงปัจจุบันพระองค์ทรงมีพระราชดำรัส โดยให้ความสำคัญเกี่ยวกับน้ำว่า

 

“… หลักสำคัญว่า ต้องมีน้ำ น้ำบริโภคและน้ำใช้ น้ำเพื่อการเพาะปลูก เพราะชีวิตอยู่ที่นั่น ถ้ามีน้ำคนอยู่ได้ ถ้าไม่มีน้ำ คนอยู่ไม่ได้ ไม่มีไฟฟ้าคนอยู่ได้ แต่ถ้ามีไฟฟ้าไม่มีน้ำ คน อยู่ไม่ได้…”(พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทาน
เมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ.2529 ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน) 

References

จินตนา สุจจานันท์. (2554). การศึกษาตลอดชีวิตและการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ :

โอ.เอส.พริ้นติ้ง.

ชาญวิทย์ ทองโชติ และภวิษณ์ณัฏฐ์ เวชวิฐาน. (2558). ความเข้มแข็งขององค์กรการเงิน

ชุมชนในเขตอำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารวิทยาการ

จัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. 2(1), 136 - 138.

นภาภรณ์ หะวานนท์ และคณะ. (2550). ทฤษฎีฐานรากในเรื่องความเข้มแข็งของชุมชน.

กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

ประเวศ วะสี. (2536). การศึกษาของชาติกับภูมิปญญาทองถิ่น. ใน เสรี พงศพิศ

(บรรณาธิการ). ภูมิปญญาชาวบานกับการพัฒนาชนบทเลม 1. กรุงเทพฯ :

อมรินทรพริ้นดิ้งแอนดพับลิชซิ่ง.

วัศรนันทน์ ชูทัพ. (2560). จากวิถีดั้งเดิมสู่วิถีของคนยุคใหม่ : ภาพสะท้อนการ

เปลี่ยนแปลงของยุคสมัยในเด็กชายเล. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. 9(1), 191 – 192.

สยุมพร ผลสนอง. (2550). ความเข้มแข็งขององค์กรการเงินชุมชนในจังหวัดมหาสารคาม.

วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาการพัฒนา.

ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สาวิณี รอดสิน. (2554). ชุมชนเข้มแข็ง : กรณีศึกษาชุมชนบ้านปางจำปี ตำบลห้วยแก้ว

อำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาสตร

มหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2553). รายงานการ

ติดตามประเมินผล 3 ปีแรกของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10.

ม.ป.ท. : ม.ป.พ.

. (2554). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 พ.ศ.

- 2559. ม.ป.ท. : ม.ป.พ.

สำนักงานสถิติ แห่งชาติ. (2557). การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน

พ.ศ. 2556. กรุงเทพฯ : กรมพัฒนาชุมชน.

บุคลานุกรม

กิ้มล้วน ธรรมภัทรกุล (ผู้ให้สัมภาษณ์) นุสรา เพ็งแก้ว และอัมพวรรณ หนูพระอินทร์

(ผู้สัมภาษณ์). ณ บ้านเลขที่ 22/4 หมู่ที่ 5 ต.ทุ่งกง อ.กาญจนดิษฐ์

จ.สุราษฎร์ธานี. เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2559.

โกมาตร วิเศษสุทธิ์ (ผู้ให้สัมภาษณ์) นุสรา เพ็งแก้ว และอัมพวรรณ หนูพระอินทร์

(ผู้สัมภาษณ์) ณ บ้านเลขที่ 51 หมู่ที่ 5 ต.ทุ่งกง อ.กาญจนดิษฐ์ จ.สุราษฎร์ธานี.

เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2559.

ไกรสร วงษ์สวัสดิ์ (ผู้ให้สัมภาษณ์) นุสรา เพ็งแก้ว และอัมพวรรณ หนูพระอินทร์

(ผู้สัมภาษณ์). ณ บ้านเลขที่ 35/1 หมู่ที่ 5 ต.ทุ่งกง อ.กาญจนดิษฐ์ จ.สุราษฎร์ธานี.

เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2559.

ชนัญชิดา ทิพย์ญาณ (ผู้ให้สัมภาษณ์) นุสรา เพ็งแก้ว และอัมพวรรณ หนูพระอินทร์

(ผู้สัมภาษณ์). ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม

ชวน เพชรแก้ว (ผู้ให้สัมภาษณ์) นุสรา เพ็งแก้ว และอัมพวรรณ หนูพระอินทร์

(ผู้สัมภาษณ์) ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2559.

ถวิล รอดคุ้ม (ผู้ให้สัมภาษณ์) นุสรา เพ็งแก้ว และอัมพวรรณ หนูพระอินทร์ (ผู้สัมภาษณ์).

ณ บ้านเลขที่ 51/1 หมู่ที่ 5 ต.ทุ่งกง อ.กาญจนดิษฐ์ จ.สุราษฎร์ธานี. เมื่อวันที่ 10

มิถุนายน 2559.

พะโยม ธรรมภัทรกุล (ผู้ให้สัมภาษณ์) นุสรา เพ็งแก้ว และอัมพวรรณ หนูพระอินทร์

(ผู้สัมภาษณ์). ณ บ้านเลขที่ 22/4 หมู่ที่ 5 ต.ทุ่งกง อ.กาญจนดิษฐ์ จ.สุราษฎร์ธานี.

เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2559.

วาด กลับวิหค (ผู้ให้สัมภาษณ์) นุสรา เพ็งแก้ว และอัมพวรรณ หนูพระอินทร์ (ผู้สัมภาษณ์).

ณ บ้านเลขที่ 135/2 หมู่ที่ 5 ต.ทุ่งกง อ.กาญจนดิษฐ์ จ.สุราษฎร์ธานี. เมื่อวันที่

พฤษภาคม 2559.

ย้วน แซ่เฮา (ผู้ให้สัมภาษณ์) นุสรา เพ็งแก้ว และอัมพวรรณ หนูพระอินทร์ (ผู้สัมภาษณ์)

ณ บ้านเลขที่ 37/1 หมู่ที่ 5 ต.ทุ่งกง อ.กาญจนดิษฐ์ จ.สุราษฎร์ธานี. เมื่อวันที่

มิถุนายน 2559.

อุทิศ รอดคุ้ม (ผู้ให้สัมภาษณ์) นุสรา เพ็งแก้ว และอัมพวรรณ หนูพระอินทร์ (ผู้สัมภาษณ์)

ณ บ้านเลขที่ 51/1 หมู่ที่ 5 ต.ทุ่งกง อ.กาญจนดิษฐ์ จ.สุราษฎร์ธานี. เมื่อวันที่

มิถุนายน 2559.

Downloads

Published

2018-10-09

How to Cite

หนูพระอินทร์ อ. (2018). การอนุรักษ์คลองท่าทองใหม่โดยชุมชนมีส่วนร่วม. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (Journal of Humanities and Social Sciences, SRU), 10(3), 173–202. Retrieved from https://e-journal.sru.ac.th/index.php/jhsc/article/view/956