การประกอบสร้างอัตลักษณ์แห่งชาติอินโดนีเซีย ผ่านบาติกยอกยาการ์ตาในยุคปฏิรูป A Reconstruction of Indonesian National Identity by Yogyakarta’s Batik in the Reformasi Period

Authors

  • ดร.ชนกมลย์ คงยก มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

Keywords:

การประกอบสร้าง, อัตลักษณ์แห่งชาติ, อินโดนีเซีย, บาติกยอกยาการ์ตา และยุคปฏิรูปReconstruction, National identity, Indonesia, Yogyakarta’s batik, Reformasi period

Abstract

บทคัดย่อ

 

บทความชิ้นนี้มีจุดมุ่งหมายที่ต้องการชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของบาติกยอกยาการ์ตากับการประกอบสร้างอัตลักษณ์แห่งชาติอินโดนีเซียใน ยุคปฏิรูปทั้งในมิติประวัติศาสตร์ทางการเมืองและมิติศิลปวัฒนธรรม ในมิติประวัติศาสตร์ เมืองยอกยา      การ์ตาถือเป็นเมืองที่มีความสำคัญในยุคการสร้างชาติอินโดนีเซีย กล่าวคือ เมืองแห่งนี้       เคยเป็นฐานที่ตั้งของเมืองหลวงอินโดนีเซียในช่วงการเรียกร้องอิสรภาพ ส่งผลให้ได้รับ          การแต่งตั้งให้เป็นเขตปกครองพิเศษยอกยาการ์ตาจวบจนปัจจุบัน สำหรับมิติศิลปวัฒนธรรม เมืองยอกยาการ์ตาเป็นเมืองที่ยังคงเต็มไปด้วยการธำรงรักษาไว้ซึ่งวัฒนธรรมชวาแบบดั้งเดิม หนึ่งในนั้นคือวัฒนธรรมที่เรียกว่า “บาติก” บาติกยอกยาการ์ตามิได้ผลิตขึ้นเพื่อเป็นเพียงเครื่องแต่งกายที่ทรงคุณค่าและความงาม เท่านั้น แต่ยังทำหน้าที่สะท้อนภาพทางสังคมชวารวมไปถึงภาพรวมของสังคมอินโดนีเซีย นอกจากนี้ชาวชวาผู้ซึ่งเป็นกลุ่มประชากรหลักของประเทศได้ขับเน้นความเป็นชวาให้ปรากฏเด่นชัดผ่านศิลปวัฒนธรรมต่างๆ ความเป็นชวาที่ส่งผ่านบาติก ยอกยาการ์ตาจึงถูกนำมาเป็นส่วนหนึ่งในการประกอบสร้างอัตลักษณ์แห่งชาติอินโดนีเซีย

 

คำสำคัญ  : การประกอบสร้าง, อัตลักษณ์แห่งชาติ, อินโดนีเซีย, บาติกยอกยาการ์ตา         และยุคปฏิรูป

 

 


นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาเอเชียศึกษา สำนักวิชา         ศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และนักวิจัยสังกัดศูนย์ความเป็นเลิศด้านผู้หญิงและความมั่นคง           ทางสังคม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ E-mail : kamonwan.ko@gmail.com

 

Abstract

           

This article aims to show the relationship between the Batik of Yogyakarta and the Development of Indonesian National Identity in the period of reform, from the perspectives of political history, and of art and culture. From the perspective of political history, Yogyakarta was an important city in the Indonesian state which was once the capital of the Indonesian capital during the independence claim. This city has been designated as the Yogyakarta Special Administrative Region until the present. As for the perspective of art and culture, the city of Yogyakarta is         a city that still preserves traditional Javanese culture. One of the aspects of that culture is the culture known as “batik.” From the perspective of Javanese culture, Yogyakarta’s batik is more than just a valued way of dressing. It also reflects on Indonesian society. In addition, the Javanese, who are the main population of the country, have emphasized Javanese prominence through art and culture. The Javanese was transmitted Yogyakarta's batik as part of Indonesian national identity.

 

Keyword :  Reconstruction, National identity, Indonesia, Yogyakarta’s batik, Reformasi period

References

กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์. (2557). รอบรู้เรื่อง การลงทุนในอาเซียน : สาธารณรัฐอินโดนีเซีย. [ม.ป.ท.: ม.ป.พ.].

ชัยวัฒน์ หลานฉิม. (2559). การเมืองเชิงวัฒนธรรมของสังคมชวาในคริสต์ศตวรรษที่ 19 : ภาพสะท้อนจากแนวคิดเรื่องรัฐนาฏกรรม. วารสารมองเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, 5(1), 2-36.

ดี.จี.อี. ฮอลล์. (2522). ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้: สุวรรณภูมิ-อุษาคเนย์ภาคพิสดาร (A History South-East Asia). แปลโดย ท่านผู้หญิงวรุณยุพา สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และคณะ. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์.

เบนเนดิคต์ แอนเดอร์สัน. (2552). ชุมชนจินตกรรม บทสะท้อนว่าด้วยกำเนิดและการแพร่ขยายของชาตินิยม (Imagined communities Reflections on the Origin and spread of Nationalism). แปลโดย ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และคณะ. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

สุวัฒนา มณีเจริญ. (2558). รัฐธรรมนูญของสาธารณรัฐอินโดนีเซียฉบับ ค.ศ. 1945 กับแนวคิดเกี่ยวกับความเป็นชาติ. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 8(2), 1964-1976.

ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). (2552). ผ้าบาติกคือสมบัติ ประจำชาติหรือมรดกของมนุษยชาติ? [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก/http://www.sac.or.th/exhibition/aseantimeline.[2560,/ตุลาคม/30].

Anderson, B. (1990). Language and Power: exploring political cultures in Indonesia. New York : Cornell Paperbacks.

Brown, D. (1994). The State and Ethnic Politics in Southeast Asia. Politics in Asia Series. New York : Routledge.

Buechler, S. M. (1995). New Social Movement Theories. Journal of The Sociological Quarterly, 36(3), 441-464.

Economic and Social Commission for ASIA and the Pacific. (2014). Asia-Pacific trade and investment report 2014 : Recent Trends and Developments. New York : United Nations publication.

Elliott, I.M. (1984). Batik Fabled Cloth of Java. New York : Periplus Editions.

Herzfeld, M. (2005). Cultural Intimacy : Social Politics in the Nation-State. New York : Routledge.

Meuleman, J. (2006). Between Unity and Diversity : The Construction of the Indonesian Nation. In European Journal of East Asian Studies, 5 (1) , 45-69.

Patria, A.N. (2010). Batik as a National Culture and Identity to Strengthen Indonesian Nation-Building. Teaching materials for South-East Asian Studies (FIB-211), Surabaya : Airlangga University.

Reid, A. (2011). To Nation by Revolution: Indonesia in the twentieth century. Singapore : NUS press.

Sandholz, S. (2017). Urban Centres in Asia and Latin America : Heritage and Identities in Changing Urban Landscapes. Switzerland : Springer International Publishing.

Setiawan, D. (2015). Jogja Fashion Week Carnival Costume in

The Context of Locality. in Journal of Arts Research & Education, 15(2), 126-131.

Soedewi, S. (2011). Technic and Decorative Varieties of Yogya & Solo’s Batik. Yogyakarta : Naturatama. (in Idonesia)

Soewarsono, M.A. (2011). Nationalism and Cultural Resilience in Indonesia: A Challenge. Jakarta : Lipi Press. (in Idonesia)

Sutardi, T. (2007). Anthropology: Revealing Cultural Diversity. Bandung : PT Setia Purna Inves. (in Idonesia)

Tirta, I. (1996). Batik : A Play of Light and Shades. Jakarta : PT Gaya Favorit Press. (in Idonesia)

Vickers, A. (2005). A History of Modern Indonesia. Cambridge : Cambridge University Press.

Downloads

Published

2019-08-16

How to Cite

คงยก ด. (2019). การประกอบสร้างอัตลักษณ์แห่งชาติอินโดนีเซีย ผ่านบาติกยอกยาการ์ตาในยุคปฏิรูป A Reconstruction of Indonesian National Identity by Yogyakarta’s Batik in the Reformasi Period. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (Journal of Humanities and Social Sciences, SRU), 11(2), 137–164. Retrieved from https://e-journal.sru.ac.th/index.php/jhsc/article/view/1017