ความสำคัญของภาษาท้องถิ่น (The Importance of Dialects and Indigenous Languages)

Authors

  • นิตยา กาญจนะวรรณ Associate Member of the Royal Institute, Art Bureau, the Royal Institute.

Keywords:

ภาษาท้องถิ่น, วรรณกรรมท้องถิ่น, นโยบายภาษาแห่งชาติ, ระบบเขียนภาษาท้องถิ่น, การถอดอักษรภาษาตระกูลไทเป็นอักษรโรมัน, dialects and indigenous languages, regional literature, national languagepolicy, writing systems, Romanization principles.

Abstract

ราชบัณฑิตยสถานได้ตระหนักถึงความสำคัญของภาษาท้องถิ่นเป็นอย่างยิ่ง จึงได้รวมเรื่องภาษาท้องถิ่นไว้ในนโยบายภาษาแห่งชาติ นอกจากนี้ยังได้จัดตั้งคณะกรรมการเกี่ยวกับภาษาและวรรณกรรมท้องถิ่นขึ้นมา 6 ชุด รวมทั้งกรรมการจัดระบบการเขียนภาษาที่ยังไม่มีระบบการเขียน และจัดทำระบบการถอดอักษรภาษาท้องถิ่นเป็นอักษรโรมันเพื่อนำเสนอต่อองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (ISO) ต่อไป

Dialects and indigenous languages have been given a great deal of attention by the Royal Institute of Thailand. They have been included prominently in the National Language Policy, and six committees deal with languages and literatures of the northern, southern, and Isan (northeastern) regions of the country. In addition, writing systems have been developed for several indigenous languages, and principles have been established for alphabets of some major Tai languages so that they can be proposed to the ISO.

Downloads

Published

2014-12-15

How to Cite

กาญจนะวรรณ น. (2014). ความสำคัญของภาษาท้องถิ่น (The Importance of Dialects and Indigenous Languages). วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (Journal of Humanities and Social Sciences, SRU), 6(1), 1–12. Retrieved from https://e-journal.sru.ac.th/index.php/jhsc/article/view/108