แนวโน้มและทิศทางการศึกษาภูมิศาสตร์กายภาพในอนาคต

Authors

  • นาถนเรศ อาคาสุวรรณ

Abstract

บทคัดย่อ

ภูมิศาสตร์กายภาพเป็นศาสตร์ที่มีพื้นฐานมาจากการสร้างองค์ความรู้ที่ต้องอาศัยความเป็นเหตุเป็นผลระหว่างกันของธรรมชาติ เพื่ออธิบายถึงความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นระหว่างปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและการดำรงชีวิตของมนุษย์ ดังนั้นเนื้อหาของภูมิศาสตร์กายภาพจึงนับว่าเป็นเนื้อหาที่เกิดจากการสังเคราะห์ความรู้ที่มาจากความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์บนโลก ผู้ที่เข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงของปรากฏการณ์ธรรมชาติบนโลกจะสามารถปรับตัวต่อผลกระทบที่จะเกิดขึ้น เช่น การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก อีกทั้งยังสามารถเข้าใจถึงปัญหาที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมือง อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม ดังนั้นผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจในภูมิศาสตร์กายภาพจะสามารถสร้างองค์ความรู้ให้กับตนเองด้านความเข้าใจเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่มีความสัมพันธ์กับการดำรงชีวิตของมนุษย์ได้ดี และเกิดการพัฒนาเพื่อนำไปสู่ทักษะในการที่จะนำความรู้ทางภูมิศาสตร์กายภาพไปใช้ประโยชน์ในการตีความเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นบนโลกเพื่อแก้ไขสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตให้เป็นไปได้ด้วยดี

 

คำสำคัญ

ภูมิศาสตร์กายภาพ, ภูมิสารสนเทศศาสตร์, ปรากฏการณ์ธรรมชาติ

 

Abstract

Physical geography is a science that is based on explicit knowledge required reasoning of nature itself. It explains the relationship between natural phenomenon and human living. Therefore, contents of physical geography is considered as the syntheses of knowledge derived from the relationships of various phenomenon effecting human living on the earth. People who understand natural phenomenon changing on the earth can adapt themselves to natural affects which will be occured, for instance, climate change, plate tectonic changes as well as can understand problems arising from changes in social, economic and political conditions due to environmental changes. Therefore, those who have explicit knowledge and understanding in physical geography can be able to shape proper body of knowledge about natural phenomenon related to human living for themselves. Beside, the knowledge can be developed as skills in using physical geography knowledge to interpret events or phenomenon that can be occured on the earth in order to correct what will be happened in the future as best as they can.

 

Keywords

            Physical Geography, Geo-Informatics, Natural Phenomena

Downloads

Published

2020-12-23

How to Cite

อาคาสุวรรณ น. . (2020). แนวโน้มและทิศทางการศึกษาภูมิศาสตร์กายภาพในอนาคต . วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (Journal of Humanities and Social Sciences, SRU), 12(2), 198–218. Retrieved from https://e-journal.sru.ac.th/index.php/jhsc/article/view/1113