รูปอีกาในจิตรกรรมไทย (Crow Figures in Thai Paintings)

Authors

  • สนั่น รัตนะ Associate Fellow of the Royal Institute, Art Bureau, the Royal Institute.

Keywords:

จิตรกรรมไทย, จิตรกรรมแบบร่วมสมัย, กา, Thai Painting, contemporary mural, Crow.

Abstract

การศึกษารูปอีกาในงานจิตรกรรมไทยเพื่อวิเคราะห์หาแนวคิด พบว่างานจิตรกรรมไทยทั้งแบบประเพณีและร่วมสมัย ศิลปินใช้รูปอีกาเป็นสัญลักษณ์ โดยนำรูปร่างที่มีกายสีดำ หรือนิสัยการกินทุกอย่างอย่างไม่เลือกเป็นอาหาร แทนความหมายต่างๆ ถ่ายทอดจินตนาการ แสดงความรู้สึกในแง่มุมลบเป็นส่วนใหญ่ เช่น แสดงความน่ากลัว ความลึกลับ การบอกเหตุร้ายหรือลางสังหรณ์ ดังมีภาพปรากฏอยู่ในสมุดภาพไตรภูมิกถา จิตรกรรมฝาผนังพระระเบียงวัดพระศรีรัตนศาสดาราม และผลงานจิตรกรรมไทยร่วมสมัยของศิลปินหลายท่าน

The study of crow figures through their conveyed message was carried out in Thai Paintings of both traditional and contemporary styles. It led to a conclusion that they had been used mostly as a symbol of negative meanings like fear, mystery or even evil omen, due to their whole black-feathered bodies and their scavenging habits. Crow figures had been represented in different kinds of art works such as Tribhumikatha folded page book, Mural Painting along the galleries of the temple of the Emerald Buddha and other contemporary paintings created by many artists.

Downloads

Published

2014-12-16

How to Cite

รัตนะ ส. (2014). รูปอีกาในจิตรกรรมไทย (Crow Figures in Thai Paintings). วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (Journal of Humanities and Social Sciences, SRU), 6(1), 175–184. Retrieved from https://e-journal.sru.ac.th/index.php/jhsc/article/view/115