พุทธจริยศาสตร์กับการตั้งครรภ์แทน (Buddhist Ethics and Surrogacy)

Authors

  • เกียรติศักดิ์ ดวงจันทร์ Faculty of Humanities and Social Sciences Suratthani Rajabhat University.

Keywords:

พุทธจริยศาสตร์, การตั้งครรภ์แทน, Buddhist Ethics, Surrogacy.

Abstract

การตั้งครรภ์แทนเป็นความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางด้านการเจริญพันธุ์ที่มีการทดลองวิจัยและพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง จนเป็นที่ถกเถียงกันระหว่างหญิงที่ให้เซลล์ไข่กับหญิงที่มารับการตั้งครรภ์แทนว่าใครคือ มารดาที่แท้จริง แนวความคิดพุทธจริยศาสตร์ พบว่า การกำเนิดชีวิตต้องอาศัยปัจจัยสามประการคือ ชายหญิงต้องมีความสัมพันธ์ทางเพศกัน หญิงที่มีความสัมพันธ์ทางเพศต้องมีไข่สุกพอเหมาะและต้องมีปฏิสนธิวิญญาณ ฉะนั้นหญิงที่ให้เซลล์ไข่คือมารดาที่แท้จริง

Surrogacy was the Development of sciences and reproductive technology. There were test, research, and development continuously on surrogacy. This went to the argument that between a woman who gave the oocyte and a woman who was surrogacy, who was the real mother for the child? According to Buddhist Ethics, this found that to give birth, there were three reasons need to be happened together : 1) a man and a woman had to have sexual intercourse, 2) the woman’s oocyte have to be well and 3) there was rebirth consciousness. Therefore, the women who gave the oocyte was the real mother.

Downloads

Published

2014-12-16

How to Cite

ดวงจันทร์ เ. (2014). พุทธจริยศาสตร์กับการตั้งครรภ์แทน (Buddhist Ethics and Surrogacy). วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (Journal of Humanities and Social Sciences, SRU), 6(1), 185–198. Retrieved from https://e-journal.sru.ac.th/index.php/jhsc/article/view/116