วัจนกรรมในโฆษณารณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่ (Speech Acts in Anti-Smoking Advertisements)
Keywords:
วัจนกรรม, โฆษณารณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่, speech acts, anti-smoking advertisementsAbstract
มีการใช้ทั้งวัจนกรรมตรงและวัจนกรรมอ้อมในโฆษณารณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่ ประโยคคำสั่งในรูปแบบห้ามกระทำ และรูปแบบให้กระทำถูกใช้ในวัจนกรรมตรง ขณะที่ประโยคบอกเล่าและประโยคคำถามถูกใช้ในวัจนกรรมอ้อม วัตถุประสงค์ของการใช้วัจนกรรมตรงและวัจนกรรมอ้อมในโฆษณา คือ การโน้มน้าวให้คนเลิกสูบบุหรี่ อย่างไรก็ตามวัจนกรรมอ้อมต่างจากวัจนกรรมตรงอยู่ที่ความหมายตามตัวอักษรแตกต่างจากความหมายที่ตั้งใจสื่อ
There are both direct speech acts and indirect speech acts used in anti-smoking advertisements. Imperative sentences in positive and negative forms are used in direct speech acts whereas declarative and interrogative sentences are applied in indirect speech acts. The intention of these direct speech acts and indirect speech acts is to convince smokers to quit smoking. However, unlike direct speech acts, the literal meaning is different from the intended meaning in indirect speech acts.