ความตาย (The Death)

Authors

  • เจือง ถิ หั่ง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง Faculty of Humanities and Social Sciences, Lampang Rajabhat University

Keywords:

ความตาย, The death

Abstract

บทความวิจัยฉบับนี้สืบเนื่องมาจากโครงการวิจัยเรื่อง “ชีวประวัติประธานาธิบดี
โฮจิมินห์ตั้งแต่ ค.ศ. 1890 -1945 : การสังเคราะห์เชิงคติชนวิทยา” มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ศึกษานานาทัศนะเกี่ยวกับความตายโดยใช้วิธีวิจัยจากเอกสาร ผลการวิจัยทำให้ประจักษ์
5 ประเด็น ประเด็นที่ 1 ความตายเป็นการปลดปล่อยจิตวิญญาณเป็นอิสระ ประเด็นที่ 2
ความตายเป็นการยุติสรรพทุกขาที่มนุษย์ต้องเผชิญในโลกพิภพ ประเด็นที่ 3 ความตาย
ช่วยปรับสถานภาพของปุถุชนทุกรูปนามให้กลับสู่ระดับเดียวกัน ประเด็นที่ 4 ความตาย
เป็นมรรควิธีรักษาความสมดุลในสังคมมนุษย์ และ ประเด็นที่ 5 สำหรับผู้ที่จำเริญจิต
เต็มเปี่ยม ความตายถือเป็นขั้นตอนสุดท้ายทำให้กระบวนการเชื่อมโยงเป็นเอกภาพ
กับพระเป็นเจ้าเสร็จสิ้นบริบูรณ์

This research article is the continuance of the research project named
“The Biography of President Ho Chi Minh from 1890 - 1945 : The Folklore
Synthesis”. The purpose is to study a variety of viewpoints about the death. Documentary research was applied as a frame methodological analysis. The results indicate 5 aspect : 1. The death is a soul liberation ;
2. The death is an entirely worldwide suffering determination ; 3. The death is the worldly adjustment to the same situational level ; 4. The death is the means of social equilibrium maintenance ; and 5. For any absolute righteous persons, the death is the final step of the complete God integration process.

 

Downloads

Published

2016-07-26

How to Cite

ถิ หั่ง เ. (2016). ความตาย (The Death). วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (Journal of Humanities and Social Sciences, SRU), 8(2), 161–198. Retrieved from https://e-journal.sru.ac.th/index.php/jhsc/article/view/468