ความหลากหลายทางภาษาและการสัมผัสภาษา ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Language Diversity and Language Contact in Southeast Asia)

Authors

  • ศิริรัตน์ ชูพันธ์ อรรถพลพิพัฒน์ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี

Keywords:

ความหลากหลายทางภาษา, การสัมผัสภาษา, เขตภาษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, Language diversity, Language contact, Southeast Asian language area

Abstract

บทความนี้มุ่งแสดงให้เห็นความหลากหลายทางภาษาและการสัมผัสภาษา
ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณที่มีความหลากหลายทางภาษามากย่อมไม่สามารถ
หลีกเลี่ยงปรากฏการณ์การสัมผัสภาษาได้ การสัมผัสภาษานำไปสู่การเปลี่ยนแปลงของ
ภาษาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และการสัมผัสภาษาเป็นระยะเวลานานของภาษาในเขต
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของภาษาทุกตระกูลภาษาในเขตเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ การสัมผัสภาษามีอิทธิพลทำให้ภาษาต่าง ๆ มีลักษณะบางประการ
คล้ายคลึงกัน แม้ว่าภาษาเหล่านั้นจะเป็นภาษาจากต่างตระกูลกัน

This article aims to indicate language diversity and language contact
in Southeast Asia. Language contact occurs in language diversity area inevitably.
Language contact induced change in Southeast Asia and longtime language
contact in Southeast Asia area caused language change in every language 

family. Language contact influences similar features of languages even though
they are from different language families.

Downloads

Published

2017-04-24

How to Cite

ชูพันธ์ อรรถพลพิพัฒน์ ศ. (2017). ความหลากหลายทางภาษาและการสัมผัสภาษา ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Language Diversity and Language Contact in Southeast Asia). วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (Journal of Humanities and Social Sciences, SRU), 9(1), 53–70. Retrieved from https://e-journal.sru.ac.th/index.php/jhsc/article/view/593