Sufficiency Economy:An Innovative Method of Buddhist Development Economics
Keywords:
การพัฒนาอย่างยั่งยืน, ความรู้จักพอดี, ความรู้และศีลธรรม, ทางสายกลาง, มีภูมิคุ้มกัน, มีเหตุผล, เศรษฐกิจพอเพียงAbstract
การ พัฒนาศักยภาพส่วนบุคคลของมนุษย์มีกิจกรรมมากมาย แต่ละกิจกรรมมีความสำคัญต่อกระบวนการการพัฒนาซึ่งไม่สามารถประเมินให้สูง หรือต่ำกว่าความเป็นจริงได้ กิจกรรมทางด้านเศรษฐกิจเป็นหนึ่งในกิจกรรมนี้ แต่สิ่งที่เกิดขึ้นในสถานการณ์กระแสเศรษฐกิจปัจจุบันกลับเน้นกิจกรรมด้านการ สั่งสมวัตถุ ความร่ำรวยมากจนเกินไป กิจกรรมด้านอื่น ๆ ในชีวิตมนุษย์ถูกละเลยหรือลดค่าลงเป็นเพียงสินค้า อย่างไรก็ตาม มีความพยายามอย่างต่อเนื่องเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว แต่ยังคงไม่ประสบความสำเร็จ เนื่องจากยังเป็นการแก้ปัญหาที่ไม่ถูกจุด การแก้ปัญหาเหล่านี้มักนำไปสู่ข้อสรุปที่ไม่เป็นผล หรือหากร้ายแรงกว่านั้นกลับนำไปสู่ปัญหาใหม่ๆ ดังนั้นทางเลือกที่ดีกว่าในการพัฒนาเศรษฐกิจ คือ เศรษฐกิจพอเพียงที่เปรียบประดุจเป็นของขวัญจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช ซึ่งเป็นแนวคิดที่มีรากฐานมาจากคำสอนเรื่องทางสายกลางในพุทธศาสนานั่นเอง
Development of an individual, his whole potentiality, is one of the most important reasons that defines and gives meaning to life. Human life consist of different activities, each of which plays a vital role in the process of his development and cannot be underestimated or overrated, economic activity being one of them. But what happens in the current economic scenario is that
there is too much stress on an economic activity of amassing more and more material wealth in the absence of consideration of the other factors of life that humans have been reduced to mere commodities. Attempts are continuously made to correct this problem but are unsuccessful as most of the attempts do
not address the real problem, which in the end have proven to be unproductive or in the worse case causing more problems. The better alternatives to conventional economic development can be the Sufficiency Economy, bestowed by His Majesty the King Bhumibol Adulyadej, which has as its foundation, the
Buddhist principle of Middle path as its guiding principle.