ลักษณะหลังสมัยใหม่ในเรื่องสั้น “กรุงเทพฯ กรงเทพฯ (1)” และ “กรุงเทพฯ กรงเทพฯ (2)” ของ อุทิศ เหมะมูล (Postmodern Characteristics Appearing in the Short Stories Entitled “Krungthep Krongthep ” and “Krungthep Krongthep ” by Uthis Haemamool)

Authors

  • อรอำไพ นับสิบ สาขาวิชาภาษาไทยธุรกิจ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี

Keywords:

หลังสมัยใหม่, เรื่องสั้น, วรรณกรรมหลังสมัยใหม่, postmodern, short stories, postmodern literature

Abstract

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะหลังสมัยใหม่ในเรื่องสั้น “กรุงเทพฯ
กรงเทพฯ (1)” และ “กรุงเทพฯ กรงเทพฯ (2)” ของอุทิศ เหมะมูล ผลการศึกษา พบว่า
ในเรื่องสั้นทั้งสองเรื่องปรากฏลักษณะหลังสมัยใหม่แสดงให้เห็นภาวะความจริง - ความลวง
ในสังคมอันเต็มไปด้วยการนำเสนอข้อมูลข่าวสาร ปัจเจกบุคคลมิได้มีอำนาจเหนือตนเอง
ตามคติมนุษยนิยมแบบสมัยใหม่ มนุษย์ไม่อาจกำหนดตนเอง ไม่ใช่เพียงการประกอบสร้างความ
จรงิ ผ่านสื่อสารมวลชน ความจริงยังแตกแขนงในฐานะเป็นวาทกรรมด้วยการตอบโต้ของ
เสียงจากชายขอบที่ปรากฏในฐานะภาพแทนความยอกย้อนของคนในสังคมร่วมสมัย
อันหลากหลาย นำเสนอให้เห็นถึงภาวะความเข้ากันไม่ได้ จากเนื้อหาและแนวคิดดังกล่าว จึงถือ
ได้ว่าเรื่องสั้นทั้งสองเรื่องได้เข้าร่วมกระแสทางสังคมวัฒนธรรมและวรรณกรรมหลังสมัยใหม่

This article aims to analyze postmodern characteristics in the short
stories entitled “Krungthep Krongthep (1)” and “Krungthep Krongthep
(2)” written by Uthis Haemamool. The study found that postmodern characteristics
appearing in these two short stories presents truth and untruth in the society
that full of information. Individuals do not have power over themselves as a
humanism in the modern world. They are unable to define who they are. Truths
are not only created through mass communication, but also spread as
discourses by ways of response of marginal people who appear as representation.
Paradox/Complexity of people in diver - sified contemporary societies reveals
their incompatibility. Due to the concepts, these two short stories are parts of
social and cultural trend and postmodern literature.

Downloads

Published

2017-12-26

How to Cite

นับสิบ อ. (2017). ลักษณะหลังสมัยใหม่ในเรื่องสั้น “กรุงเทพฯ กรงเทพฯ (1)” และ “กรุงเทพฯ กรงเทพฯ (2)” ของ อุทิศ เหมะมูล (Postmodern Characteristics Appearing in the Short Stories Entitled “Krungthep Krongthep ” and “Krungthep Krongthep ” by Uthis Haemamool). วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (Journal of Humanities and Social Sciences, SRU), 9(3), 293. Retrieved from https://e-journal.sru.ac.th/index.php/jhsc/article/view/763