จุดเปลี่ยนของภาษากฎหมายไทยจากดั้งเดิมสู่สมัยใหม่ (The Turning point of Thai Legal Language: From Traditional to Modern Law)

Authors

  • อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • สะเกษษ์ พุทธพิทักษ์ กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

Abstract

กฎหมายและภาษากฎหมายมีความสำคัญต่อสังคม และผลงานในอดีตแสดง
ให้เห็นว่าภาษากฎหมายในหลายประเทศได้เปลี่ยนแปลงไปตามการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
แต่ในสังคมไทยยังไม่มีการวิจัยเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของภาษาในกฎหมายไทย
บทความนี้มุ่งตอบคำถามว่ากฎหมายไทยมีการเปลี่ยนแปลงจากแบบดั้งเดิมมาเป็นแบบ
สมัยใหม่อย่างปัจจุบันเมื่อใดและเกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาอย่างไร ผลการวิจัยพบว่า
ในสมัยก่อน กฎหมายไทยใช้ภาษาไทยล้วน ๆ จุดเปลี่ยนคือการทำสนธิสัญญาเบาว์ริ่งกับ
อังกฤษ สนธิสัญญานี้ร่างเป็นภาษาอังกฤษและมีการแปลเป็นภาษาไทยไว้คู่กัน ต่อมา
มีการร่างกฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127 ในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งร่างเป็นภาษาอังกฤษและ
มีการแปลเป็นภาษาไทย กฎหมายฉบับนี้ถือเป็นกฎหมายสมัยใหม่ฉบับแรกของไทย และ
เป็นต้นแบบของการจัดท

Downloads

Published

2018-04-30

How to Cite

ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ อ., & พุทธพิทักษ์ ส. (2018). จุดเปลี่ยนของภาษากฎหมายไทยจากดั้งเดิมสู่สมัยใหม่ (The Turning point of Thai Legal Language: From Traditional to Modern Law). วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (Journal of Humanities and Social Sciences, SRU), 10(1), 19–48. Retrieved from https://e-journal.sru.ac.th/index.php/jhsc/article/view/860