ความเจ็บปวดอันเนื่องมาจากความรักของตัวละครหญิง : มองผ่านการตีความในบทเพลงของ มินตรา น่านเจ้า (The Regret Caused by the Love of Female Characters: Looking through the Interpretation of Mintra Nanjao’s Songs)

Authors

  • วัศรนันทน์ ชูทัพ Suratthani Rajabhat University

Keywords:

ความเจ็บปวดอันเนื่องมาจากความรัก, ตัวละครหญิง, บทเพลง มินตรา น่านเจ้า, Regret caused by love, Female Characters, Songs, Mintra Nanjao

Abstract

บทความวิชาการนี้มุ่งนำเสนอความเจ็บปวดอันเนื่องมาจากความรัก ของตัวละครหญิง โดย มินตรา น่านเจ้า นำเอาเรื่องราวของตัวละครหญิงในวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมพื้นบ้าน ที่ต้องเจ็บปวดเพราะความรักมาเรียบเรียงเป็นบทเพลง ตามสมัยนิยม จำนวน 7 บทเพลง คือ คนที่ถูกลืม อาญาสองใจ รักเกินจะหักใจ รับได้ไหมไม่บริสุทธิ์ มโนราห์ แม่นาค และนาคี โดยนำรสของวรรณคดี คือ สังลาปังคพิสัย อันเป็นท่วงทำนองการประพันธ์ประเภทคร่ำครวญ คะนึง หรือรำพันถึงบุคคลอันเป็นที่รักมาประกอบสร้างเป็นบทเพลง นอกจากนี้ยังปรากฏการนำวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมพื้นบ้าน มาตีความ 3 ลักษณะ คือ (1) ตีความตรงกับต้นฉบับเดิม คือ บทเพลง มโนราห์ การฟังบทเพลงนี้จึงเท่ากับว่าได้ฟังเรื่องย่อของวรรณคดีเรื่องมโนราห์ด้วย (2) ตีความไปตามต้นฉบับเดิมของวรรณคดี วรรณกรรม และวรรมกรรมพื้นบ้าน แต่แทรกอารมณ์ความรู้สึกและแสดงทัศนะไว้ในบทเพลงด้วย การตีความลักษณะนี้ ปรากฏมากที่สุด คือ 4 บทเพลง อาทิ คนที่ลูกลืม รักเกินจะหักใจ แม่นาค และนาคี (3) ตีความใหม่โดยปรากฏ 2 ลักษณะ คือ (3.1) ตีความใหม่โดยอิงไปตามเนื้อหาวรรณคดี แต่กล่าวเพิ่มเติมในมุมที่สำแดงให้เห็นว่าตัวละครนั้นโดนกระทำอย่างเจ็บปวดร้าวราน ดังบทเพลง อาญาสองใจ (3.2) ตีความใหม่โดยเนื้อหาของบทเพลงนั้นไม่ตรงกับต้นฉบับ ดังบทเพลง รับได้ไหมไม่บริสุทธิ์ จะเห็นว่าบทเพลงของ มินตรา น่านเจ้า ไม่เพียงแต่สะท้อนภาพสังคมร่วมสมัย โดยเฉพาะประเด็นเรื่องรักใคร่ ซึ่งเป็นกิเลสของปุถุชนที่เวียนวนอยู่ในวัฏสงสารเท่านั้น แต่ยังสะท้อนถึงการสืบสานประยุกต์ศิลปกรรมแขนงหนึ่งสู่อีกแขนงหนึ่ง คือ วรรณคดีไทยสู่บทเพลงร่วมสมัย ซึ่งเป็นเครื่องสะท้อนความสัมพันธ์ ของวรรณศิลป์กับดุริยางคศิลป์ด้วย

 

The study aims to present the pain caused by love of the female characters by Mintra Nanchao who brought stories of female characters in literature and folklore which got hurt because of love and wrote 7 modern songs. They are (1) “Kon tee took luem” (Forgotten person), (2) “Ara Songjai” (two hearts penalty), (3) “Rab Dai Mai Mai Borisud” (Could you accept me if I’m not a virgin), (4) “Manohra”, (5) “Rak Kern Ja Ham Jai” (too much love), (6) “Mae Naak” and, (7) “Nagi”. She used the taste of Sanglapangapisai in the lament songs about the beloved person. It also appears the use of literatures and folklores to interpret in three types which are (1) interpreting as original text interpretation which shows in Manohra song. Listening to this song is like listening to a synopsis of Manohra literature. (2) interpreting according to the original literature and folklore but inserting the emotion and expressing the songwriter’s view in the songs. This interpretation can be seen in four songs, such as “Kon tee took luem”, “Rak Kern Ja Ham Jai”, “Mae Nak” and “Naki”. (3) The new interpretation which can be divided in to two types. (3.1) new interpretation based on literary content but add more details that shows the characters hurt by painfully actions as seen on “Ara Songjai” song. (3.2) New interpretation which the content does not match the original literature as seen on “Rab Dai Mai Mai Borisud”. It is found that Mintra Nanjao’s songs do not only reflect contemporary society especially the love issue which is the passion of the people who still in the round of rebirth but also reflect the continuing of applied arts from one branch to another such as Thai literature to contemporary songs. This is a reflection of the relationship between literature and musical performance.

References

กัน. (2560). พรหมจรรย์กับคุณค่าของผู้หญิง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก

http://www.gun.in.th/board/indexphp?topic= 105656.0;wap2.

, กันยายน 10].

น่านซิตี้. (2560). ประวัติมินตรา น่านเจ้า. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก

www.nancity.in.th. [2560, กันยายน 10].

รื่นฤทัย สัจจพันธุ์. (2540). สีสรรพ์วรรณศิลป์. กรุงเทพฯ : ต้นอ้อ แกรมมี่.

.(2553). ความรู้ทั่วไปทางภาษาไทย ตอน 3 วรรณคดี ไทย.

กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ยูทูป. (2560). คนที่ถูกลืม มินตรา น่านเจ้า. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก

https://www.youtube.com/watch?v==KFKU5d_osI4. [2560,

กันยายน 10].

.(2560). ใจนี้เป็นของเธอ มินตรา น่านเจ้า. [ออนไลน์].

เข้าถึงได้จาก https://www.youtube.com/watch?v=r1yZ2YZ1bY8.

, กันยายน 10].

. (2560). แม่นาค มินตรา น่านเจ้า. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://

www.youtube.co/watch?v=cRkEYP0orSA. [2560, กันยายน 10].

.(2560). มโนราห์ มินตรา น่านเจ้า. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก

https://www.youtube.com//watch?v=WPoHbRKifjw. [2560,

กันยายน 10].

.(2560). รักเกินจะหักใจ มินตรา น่านเจ้า. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก

https://www.youtube.com/watch?v=ngdu L3IKows. [2560, กันยายน 10].

.(2560). รับได้ไหม ไม่บริสุทธิ์ มินตรา น่านเจ้า. [ออนไลน์].

เข้าถึงได้จาก https://www.youtube.com/watch?v=V4YuBLUgsjo.

, กันยายน 10].

.(2560). อาญาสองใจ มินตรา น่านเจ้า. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก

https://www.youtube.com/watch?v=WjhxcvMzFFM. [2560,

กันยายน 10].

วิกิพีเดีย. (2560). ไกรทอง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://th.wikipedia.org/

wiki/%E0%B9%84%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%97%E

%B8%AD%E0%B8%87. [2560, กันยายน 10].

.(2560). แม่นาคพระโขนง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://th.

wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%88%E 0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%9E%E0%B8%A3%

E0%B8%

B0%E0%B9%8%E0%B8%82%E0%B8%99%E0%B8.

, กันยายน 10].

วิโรจน์ ผดุงสุนทรารักษ์. (2536). เพลงไทยไขวรรณคดี. ใน วรรณคดี ศิลปะ ประสาน

ศิลป์. กรุงเทพฯ : อักษรสมัย.

อนุมานราชธน, พระยา. (2546). การศึกษาวรรณคดีแง่วรรณศิลป์. กรุงเทพฯ : ศยาม.

Downloads

Published

2018-04-30

How to Cite

ชูทัพ ว. (2018). ความเจ็บปวดอันเนื่องมาจากความรักของตัวละครหญิง : มองผ่านการตีความในบทเพลงของ มินตรา น่านเจ้า (The Regret Caused by the Love of Female Characters: Looking through the Interpretation of Mintra Nanjao’s Songs). วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (Journal of Humanities and Social Sciences, SRU), 10(1), 208–229. Retrieved from https://e-journal.sru.ac.th/index.php/jhsc/article/view/866