กาลเวลากับการพิสูจน์คุณค่าทางดนตรี (A Preciousness of Music through the Time)

Authors

  • ฉลองชัย โฉมทอง Suratthani Rajabhat University
  • กิติมา ทวนน้อย Suratthani Rajabhat University

Keywords:

กาลเวลา, การพิสูจน์คุณค่า, สุนทรียศาสตร์, ดนตรี, Time, Value proof, Aesthetics, Music

Abstract

บทความชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาถึงคุณค่าทางดนตรีผ่านการพิสูจน์ ในเงื่อนไขของช่วงเวลาที่เปลี่ยนแปลงไป โดยหยิบนำกระบวนการเชิงสุนทรียศาสตร์ พร้อมกับปรากฏการณ์ทางดนตรีที่เกิดขึ้นในบริบทต่าง ๆ อันมีบทบาทสัมพันธ์กับการชี้วัดเชิงคุณค่าทางดนตรี โดยเวลา “อาจเป็น” ทั้งเครื่องพิสูจน์ว่าดนตรีนี้มีคุณค่าจริง และ “ไม่อาจเป็น” เครื่องพิสูจน์คุณค่าของดนตรี หากวิเคราะห์ตามแนวคิดทางด้านสุนทรียศาสตร์ ความงามและคุณค่าของดนตรีแล้ว จะพบว่า กระบวนการรับรู้ตามแนวคิดเหล่านี้ จะเกิดขึ้นจากการซึมซับศิลปะและประสบการณ์ดนตรีผ่านช่วงเวลา ณ ขณะหนึ่ง ประกอบกับ การมีแนวคิดหรือทฤษฎีที่ใช้ในการวิเคราะห์ศึกษาคุณค่าและสุนทรียศาสตร์ของดนตรี เพิ่มมากขึ้นในช่วงเวลาต่าง ๆ ทำให้มนุษย์เกิดความซาบซึ้งในคุณค่าของดนตรี ขณะเดียวกัน เวลาไม่ได้เป็นปัจจัยหลักเพียงปัจจัยเดียวที่สามารถส่งเสริมหรือสร้างคุณค่าให้กับดนตรีได้ หากแต่ต้องมีปัจจัยสนับสนุนทางด้านอื่นอีกด้วย เช่น การมีปรัชญา แนวคิดหรือทฤษฎี มาช่วยส่งเสริมสนับสนุนให้มนุษย์เห็นคุณค่าและความสำคัญของดนตรี ผนวกกับบริบทของสภาพการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมของแต่ละพื้นที่ รวมทั้งรสนิยมและวัฒนธรรมการเสพดนตรีของแต่ละกลุ่มวัฒนธรรม This article is a dimensional questioning about an evaluation of time and music, analyzed by the using of an aesthetics process and music phenomenon in various contexts related to the music value indicators. Time “maybe” or “maybe not” a proof about the real music aesthetics value. After an analysis using the theory of aesthetics value and appreciation, a recognition process was realized by an absorbing of arts and an experience of music through a certain amount of time. Together with the increasing number of concepts or theories in the study of value and aesthetics of music help people in having experiences of aesthetic appreciation. “Time” is not the main factor in promoting or increasing the value of music. But philosophy, concept, theory, social context, local culture, people’s preference and music culture of each group of people are also the factors for people in an acknowledgement of the importance and value of the aesthetics of music.

References

กาญจนา แก้วเทพ. (2544). ศาสตร์แห่งสื่อและวัฒนธรรมศึกษา. กรุงเทพฯ : เอดิสัน

เพรสโปรดักส์.

กาญจนา แก้วเทพ และคนอื่น ๆ. (2554). สื่อเก่า สื่อใหม่ เชื่อมร้อย. กรุงเทพฯ : ภาพ

พิมพ์.

กำจร สุนพงษ์ศรี. (2556). สุนทรียศาสตร์ หลักปรัชญาศิลปะ ทฤษฎีทัศนศิลป์ ศิลปะ

วิจารณ์. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จรูญ โกมุทรัตนานนท์. (2547). สุนทรียศาสตร์ กรีก - ฟื้นฟู. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย.

ณรุทธ์ สุทธจิตต์. (2548). สังคีตนิยม : ความซาบซึ้งในดนตรีตะวันตก (พิมพ์ครั้งที่ 5).

กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ดุษฎี วรธรรมดุษฎี. (2552). รสนิยม ป็อบ ร็อค ในอุตสาหกรรมวัฒนธรรมของดนตรี

ยอดนิยม/แบบอดอร์โน่. ใน เกษม เพ็ญภินันท์ (บก.). ความหลากหลายทาง

สังคมวัฒนธรรมในมนุษยศาสตร์. หน้า 195 -198. กรุงเทพฯ : วิภาษา.

ดวงมน จิตร์จำนงค์. (2552). การศึกษาวรรณคดีแบบฉบับ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก

https://www.tcithaijo.org/index.php/rusamelae/article/view/752

[2561, มีนาคม 1].

ทีปกร (นามแฝง). (2531). ศิลปะเพื่อชีวิต ศิลปะเพื่อประชาชน. กรุงเทพฯ : ดอกหญ้า.

นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. (2549). ความต่างของวิธีคิดต่อวัฒนธรรมกระแสนิยม. ใน ฐิรวุฒิ

เสนาคำ (บก.). เหลียวหน้าแลหลัง วัฒนธรรมป๊อป. หน้า 25. กรุงเทพฯ :

ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.

นันทวัฒน์ ฉัตรอุทัย. (2549). อดอร์โนกับอุตสาหกรรมวัฒนธรรม : กรณีศึกษาเพลง สมัยนิยม (Popular Music). ใน ฐิรวุฒิ เสนาคำ (บก.). เหลียวหน้าแลหลัง

วัฒนธรรมป๊อป. หน้า 81 - 126. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.

หนังสือพิมพ์แนวหน้า. (2556, 11 พฤศจิกายน). กว่าจะเป็น “สุนทราภรณ์” 74 ปี

วงดนตรีแห่งยุค. แนวหน้า. หน้า 13.

ภัทรวดี ภูชฎาภิรมย์. (2549). วัฒนธรรมบันเทิงในชาติไทย. กรุงเทพฯ : มติชน.

วนิดา ขำเขียว. (ม.ป.ป.). สุนทรียศาสตร์. กรุงเทพฯ : พีเอส.พริ้นท์.

วิริยะ สว่างโชติ. (2549). ดนตรีบนหนทางของวัฒนธรรมศึกษา. กรุงเทพฯ :

จรัลสนิทวงศ์.

วิรุณ ตั้งเจริญ. (2535). ศิลปะและความงาม. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์.

สมควร กวียะ. (2546). ทฤษฎีการสื่อสารประยุกต์. กรุงเทพฯ : อักษราพิพัฒน์.

สุวรรณมาศ เหล็กงาม. (2554). หวนคิดถึงคืนวันอันผันผ่าน : การสื่อสารกับ

ปรากฏการณ์โหยหาอดีตในสังคมไทย. ใน กาญจนา แก้วเทพ (บก.). สื่อเก่า

สื่อใหม่ ใจเชื่อมร้อย. หน้า 240 - 242. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ์.

อติภพ ภัทรเดชไพศาล. (2555). เสียงของความเปลี่ยนแปลง : ภาพสะท้อนของ

การเมือง สังคมและ วัฒนธรรมในเสียงดนตรี. กรุงเทพฯ : สมบัติ.

อารี สุทธิพันธุ์. (2528). ศิลปนิยม (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : กระดาษสา.

ครูทองมิวสิค. (2561). วงสุนทราภรณ์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://krutong

music.wordpress.com. [2561, กุมภาพันธ์ 26].

Coloradobach. (2018). Johann Sebastian Bach. [Online].

Available http://coloradobach.org/johann-sebastian-bach/.

, February 26].

Geneticchoir. (2018). Music and Times. [Online]. Available :

https://geneticchoir.wordpress.com/. [2018, February 26].

Goldman, Alan H. (2011). “Value.” in The Routledge Companion to

Philosophy and Music, 158. Edited by Theodore Gracyk and

Andrew Kania. Oxon : Taylor & Francis Group.

Kieran, Matthew. (2001). “Value of Art.” in The Routledge Companion

to Aesthetics, 215 - 225. Edited by Berys Gaut and Dominic M.

Lopes. London:Taylor & Francis Group.

Silvers, Anita. (1991, September ). The Story of Art Is the Test of

Time. The Journal of Aesthetics and Art Criticism. 49(3), 211 -

Downloads

Published

2018-04-30

How to Cite

โฉมทอง ฉ., & ทวนน้อย ก. (2018). กาลเวลากับการพิสูจน์คุณค่าทางดนตรี (A Preciousness of Music through the Time). วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (Journal of Humanities and Social Sciences, SRU), 10(1), 230–257. Retrieved from https://e-journal.sru.ac.th/index.php/jhsc/article/view/869