การพัฒนาแบบฝึกวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหาวิทยาศาสตร์คำนวณ วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว23101 วารสารราชภัฏสุราษฎร์ธานี 147 การพัฒนาแบบฝึกวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหา วิทยาศาสตร์คำนวณ วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว23101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามแนวคิดของโพลยา สำหรับการสอน
Keywords:
problem solving analysis, the Polya’s concept, remedial classes, basic Science Matayomsuksa 3Abstract
การพั ฒนาแบบฝึ กวิ เคราะห์ การแก้ โจทย์ ปั ญหาวิ ทยาศาสตร์ คำนวณ
วิ ชาวิ ทยาศาสตร์ พื้ นฐาน ว23101 ตามแนวคิ ดของโพลยาชั้ นมั ธยมศึ กษาปี ที่ 3 สำหรั บ
การสอนซ่อมเสริ มกลุ่มสาระการเรี ยนรู้วิ ทยาศาสตร์ โรงเรี ยนท่าชนะ อำเภอท่าชนะ
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี เป็ นการวิ จั ยและพั ฒนา (Research and Development) มี
วัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 หาค่าประสิทธิผล (E.I.)
และค่าสั มประสิ ทธิ์ การกระจาย (C.V.) 2) เพื่อเปรี ยบเที ยบผลสั มฤทธิ์ ทางการเรี ยนก่อน
และหลั งการทดลองระหว่างกลุ่มควบคุ มและกลุ่มทดลองที่ใช้ แบบฝึ กกั บการสอนซ่อม
เสริ มตามปกติ 3) เพื่อเปรี ยบเที ยบผลสั มฤทธิ์ ทางการเรี ยนหลั งการทดลองระหว่างกลุ่ม
ควบคุมและกลุ่มทดลอง 4) เพื่อศึกษาความพึงพอพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกวิเคราะห์
การแก้ ปั ญหาโจทย์ ปั ญหาวิ ทยาศาสตร์ คำนวณ วิ ชาวิ ทยาศาสตร์ พื้ นฐาน ว23101
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามแนวคิดของโพลยา สำหรับใช้สอนซ่อมเสริม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน
การวิจัยครั้งนี้แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มควบคุม จำนวน 32 คน และกลุ่มทดลองจำนวน 31
คน ได้มาโดยการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) มีขั้นตอนการดำเนินงาน
3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การสร้างและหาประสิทธิภาพ ขั้นตอนที่ 2 การเปรียบเทียบผล
สั มฤทธิ์ ทางการเรี ยนก่อนและหลั งการทดลอง ระหว่างกลุ่มควบคุ มที่ใช้ การสอนซ่อมเสริ ม
ตามปกติและกลุ่มทดลองที่ใช้การสอนซ่อมเสริมโดยใช้แบบฝึก ขั้นตอนที่ 3 การศึกษาความ
พึ งพอใจของนั กเรี ยนที่มี ต่อแบบฝึ กวิ เคราะห์ ข้ อมู ลโดยการหาค่าประสิ ทธิ ภาพของแบบฝึ ก
โดยใช้ เกณฑ์ 80/80 หาค่าประสิ ทธิ ผล (E.I.) และค่าสั มประสิ ทธิ์ การกระจาย (C.V.)
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนของกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง
โดยการทดสอบค่าที (t-test Dependent for samples) และการทดสอบผลสัมฤทธิ์ทาง
การเรียนหลังเรียน ระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองโดยการทดสอบค่าที และวิเคราะห์
ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกโดยใช้ค่าเฉลี่ย (x) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(S.D.) ผลการวิจัยพบว่า การสร้างแบบฝึกวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหาวิทยาศาสตร์ คำนวณ
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว23101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามแนวคิดของโพลยา ได้แบบฝึก
วิ เคราะห์ การแก้ โจทย์ ปั ญหาวิ ทยาศาสตร์ คำนวณ ตามแนวคิ ดของโพลยา จำนวน 9 เล่ม
ได้แก่ โจทย์ปัญหาระยะทางและการกระจัด โจทย์ปัญหาแรงลัพธ์ โจทย์ปัญหาความเร็วและ
อัตราเร็ว โจทย์ปัญหาแรงเสียดทาน โจทย์ปัญหาแรงพยุง โจทย์ปัญหาโมเมนต์ของแรง โจทย์
ปั ญหางานและกำลั ง โจทย์ ปั ญหาไฟฟ้ าเบื้ องต้ น และโจทย์ ปั ญหาการอ่านค่าตั วต้ านทาน
ผลการประเมินความเหมาะสมของแบบฝึกจากผู้เชี่ยวชาญ ผลปรากฏว่ามีความเหมาะสมอยู่
ในระดับมาก แบบฝึกมีประสิทธิภาพเท่ากับ 80.39/80.93 มีประสิทธิผล เท่ากับ 0.859 มีค่า
สั มประสิ ทธิ์ การกระจายเท่ากั บ 11.36 การเปรี ยบเที ยบผลสั มฤทธิ์ ทางการเรี ยนก่อนการ
ทดลองการสอนซ่อมเสริมกับการสอนซ่อมเสริมตามปกติ พบว่า ค่าเฉลี่ยกลุ่มทดลอง (x =
12.71) และกลุ่มควบคุม (x = 11.59) ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนก่อนและหลังการทดลองการสอนซ่อมเสริมโดยใช้
แบบฝึ กกั บการสอนซ่อมเสริ มตามปกติ พบว่า ผลสั มฤทธิ์ ทางการเรี ยนของนั กเรี ยนที่เรี ยน
โดยการสอนซ่อมเสริมตามปกติมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียน (x = 18.94) สูงกว่าคะแนนเฉลี่ย
ก่อนเรียน (x = 11.59) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ของนักเรียนที่เรียนด้วยแบบฝึก มีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียน (x = 22.97) สูงกว่าคะแนนเฉลี่ย
ก่อนเรียน (x = 12.71) อย่ างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนหลังการทดลองการสอนซ่อมเสริมโดยใช้แบบฝึกกับการสอนซ่อมเสริมตามปกติ
พบว่ า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยแบบฝึกมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียน (x =
22.97) สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยหลังเรียน (x = 18.94) ที่เรียนด้วยการสอนซ่อมเสริมตามปกติ
อย่างมี นั ยสํ าคั ญทางสถิ ติ ที่ระดั บ .01 นั กเรี ยนมี ความพึ งพอใจต่อแบบฝึ กสำหรั บการสอน
ซ่อมเสริมโดยรวมอยู่ในระดับมาก (x = 4.02)
The purposes of this research were 1) to develop a model for the
subject 23101 basic Science Matayomsuksa 3 using the criteria E1 / E2
Tech to a 80/80 cost - effectiveness (E.I.) and the coefficient of variation
(C.V.); 2) to compare the achievement of students before, during and after
the trial of the control group and the experimental group; 3) to compare
achievement between the control group and the experimental group; and
4) study the satisfaction of the students toward the model based on the
Polya’s concept. The samples of this research were divided into two groups :
a control group of 32 people and the experimental group of 31 students
using purposive sampling. The study was carried out in 3 steps : Step 1 to
develop a model, Step 2 to compare student achievement of control groups
and experimental groups before and after using a model and remedial class,
step 3 to compare student achievement of control groups and experimental
groups after using a model and remedial class, and Step 4 to study the
satisfaction of students toward the model based on Polya’s concept. Data
were analyzed by determining the effectiveness of training using 80/80 the
effectiveness (E.I.) and the coefficient of variation (C.V), and using mean (x),
standard deviation (S.D.), and t-test (t-test Independent for samples).
The results showed that the appropriateness of a developed model
in 23101 Basic Science Matayomsuksa 3 based on Polya’s concept was at a
high level. The model based on Poly concept included 9 volumes namely :
Vol 1 Problems of distance and displacement with 2 modules, Vol 2 Problem
the net force problems with 1 module, Vol 3 Problems of speed and velocity
with 2 modules, Vol 4 Training problems of friction with 1 modules, Vol 5
Problems in buoyancy with 1 module, Vol 6 Problems of the moment with 1
module, Vol 7 Problem and Training with 1 module, Vol 8 The initial power
problems with 6 modules, and Vol 9 Problem in reading the resistor value
with 1 module. The model met the efficiency criteria at the high level (80.39/
80.93) with effective coefficient at 0.859 and distribution at 11.36.
The study also illustrated that a comparison of students’
achievement pretest of the experimental group (x= 12.71) and control group
(x= 11.59) differed significantly at .01 level. The average score of students’
achievement after remedial classes was higher (x= 18.94) than the previous
(x= 11.59) at .01 level. The average score of students before and after using
a model and remedial classes was significantly higher (x= 22.97) than the
previous (x= 12.71) at .01 level. The average score of students after using a
model and remedial classes was significantly higher (x= 2 2.97) than the
previous (x= 18.94) at .01 level. Students’ satisfaction towards the model
was at a high level (x= 4.02)