การพัฒนารูปแบบภาวะผู้นำการเรียนการสอนของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ในโรงเรียนมัธยมศึกษา วารสารราชภัฏสุราษฎร์ธานี 67 การพัฒนารูปแบบภาวะผู้นำการเรียนการสอน ของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ในโรงเรียน มัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 1
Keywords:
Instructional Leadership, Instructional Leadership Model, Department HeadsAbstract
การวิ จั ยนี้ มี วั ตถุประสงค์ เพื่อสร้ างและพั ฒนารู ปแบบภาวะผู้ นำการเรี ยน
การสอนของหั วหน้ ากลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ในโรงเรี ยนมั ธยมศึ กษาสั งกั ดสำนั กงานเขตพื้ นที่
การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 และเพื่อตรวจสอบรูปแบบภาวะผู้นำการเรียนการสอนของ
หั วหน้ ากลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ซึ่งการดำเนิ นการวิ จั ยแบ่งเป็ น 3 ขั้ นตอน ดั งนี้ ขั้ นตอนที่ 1
ศึ กษาเอกสารงานวิ จั ยที่เกี่ยวข้ องและศึ กษากรณี ศึ กษาโรงเรี ยนที่ปฏิ บั ติ งานเป็ นเลิ ศและ
ประสบความสำเร็ จ สถานศึ กษา 2 แห่ง ขั้ นตอนที่ 2 พั ฒนารู ปแบบภาวะผู้ นำการเรี ยน
การสอนของหั วหน้ ากลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ซึ่งใช้ วิ ธี การสนทนากลุ่มโดยผู้ ทรงคุ ณวุ ฒิ
จำนวน 12 คนขั้ นตอนที่ 3 ตรวจสอบรู ปแบบวิ ธี การประชุ มวิ พากษ์ ผู้ ที่เกี่ยวข้ องจำนวน
16 คน ตรวจสอบความถู กต้ อง ความเหมาะสมองค์ ประกอบที่สำคั ญทั้ งหมด 6 ด้ าน
ได้ แก่ ด้ านการกำหนดทิ ศทางการเปลี่ยนแปลง ด้ านการพั ฒนาหลั กสู ตรและการเรี ยน
การสอน ด้ านการใช้ เทคโนโลยี และการสร้ างสภาพแวดล้ อมในการเรี ยนรู้ ด้ านการพั ฒนา
นักเรียนสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ ด้านการพัฒนาครูให้เป็นครูมืออาชีพและด้านการนิเทศ
และการประเมิ นผลการสอน ผลการตรวจสอบรู ปแบบภาวะผู้ นำการเรี ยนการสอนของ
หั วหน้ ากลุ่มสาระการเรี ยนรู้ พบว่า ผู้ ทรงคุ ณวุ ฒิ ทุ กท่านมี ความคิ ดเห็ นสอดคล้ องกั นว่ามี
ความถูกต้องเหมาะสมเป็นไปได้และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทุกด้าน
The objectives of the research were to develop and examine the
instructional leadership model of department heads in secondary schools
under the Secondary Educational Service Area Office 11. This research
consisted of 3 stages. Stage one was the study of related literature and
research, case studies of the school administrators and department heads
which were 2 best practices and successful schools. Stage two was the
development of instructional leadership model of department heads by 12
experts on focus group discussion. Stage three was the investigation of
instructional leadership model of department heads by 16 experts on
public hearing. The instrument for collecting data was 123 questions with
0.88 reliabilities.
Research findings were as follows : the instructional leadership
model for department heads in secondary schools under the Secondary
Educational Service Area Office 11 included 6 major dimensions : determination
of direction for change, curriculum development and instructional, technology
use new learning environment creation, development of professional teachers
and student development to excellence, supervision and assessment of
teaching. The results of the investigation by experts comments showed
that: instructional leadership model of department heads in secondary
schools under the Secondary Educational Service Area Office 11 was
accurate, appropriate, possible, and beneficial in every aspect.