ลำดับชั้นทางกฎหมายของประกาศคณะปฏิวัติ : วิเคราะห์ตามหลักนิติรัฐ

Authors

  • นนทชัย โมรา

Keywords:

Abstract

ประกาศของคณะปฏิวัติ ที่มีค่าบังคับเท่าพระราชบัญญัติ ยังมีความ
ขัดแย้งในทางวิชาการเป็นอย่างมากในสังคมปัจจุบันของประเทศไทยว่า
“ประกาศคณะปฏิวัติเป็นแหล่งที่มาของกฎหมายระดับกฎหมายบัญญัติชอบ
ด้วยกฎหมายหรือไม่” ซึ่งยังมีความเห็นอยู่ 2 แนวทาง คือ เป็นกฎหมาย กับ
ไม่เป็นกฎหมายถือเป็น “โมฆะ” และเมื่อพิจารณาศึกษาถึงประกาศของคณะ
ปฏิวัติที่ใช้บังคับในปัจจุบัน มีอยู่หลายสถานะหรือหลายลำดับชั้น บางฉบับ
มีสถานะเทียบเท่ารัฐธรรมนูญ บางฉบับมีสถานะเทียบเท่ากฎหมายระดับ
กฎหมายบัญญัติ บางฉบับมีสถานะทางกฎหมายเป็นกฎหมายระดับกฎหมาย
ลำดับรอง นั้นมีกระบวนการวิธียกเลิกหรือแก้ไขเพิ่มประกาศของคณะปฏิวัติ
ด้วยกฎหมายระดับใด ประเด็นปัญหาที่สำคัญตามรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าว
คือ ประกาศของคณะปฏิวัติที่มีสถานะทางกฎหมายเทียบเท่ารัฐธรรมนูญ จะ
ใช้กระบวนการยกเลิกหรือแก้ไขเพิ่มเติมกระทำโดยการตราพระราชบัญญัติ
คือ กฎหมายที่ต่ำกว่ายกเลิกหรือแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายที่สูงกว่านั้นเหมาะ
สมหรือไม่เป็นการทำลายลำดับชั้นทางกฎหมายหรือไม่ ยังเป็นข้อถกเถียงกัน
วงวิชาการต่อไป

Numerous conflict in Thailand is whether an Announcement
of the Revolutionary Council can be counted as the legitimately law
or not. First opinion indicates that the Revolutionary Declaration
cannot be deemed as source of law; it becomes void due to lacking
of legitimacy. Another view point is that the Coup becomes the
Sovereign and thus its declaration can be deemed as the law.
However, giving that it is deemed as the “law”, we are looking
into several hierarchies of its declaration and some of them is
tantamount to Constitution, and some is parliamentary act. Most
of the Act can be amended by the National Legislation Assembly
process during the Coup Regime. However, it is necessary to find
out if the new coming government and parliament can exercise
the power to amend or abrogate those “Constitution or Act”or not
and if it is proper to follow such approach. These issues become
debatable about proper means to do so.

Author Biography

นนทชัย โมรา

Law SRU

Downloads

Published

2018-03-09